dc.contributor.advisor | สุชาดา สุขหร่อง | |
dc.contributor.author | ประภาสพล อุดมกิจมงคล | |
dc.contributor.author | ปุญณดา สัตยารมณ์ | |
dc.contributor.author | วรุตม์ เก่งกิตติภัทร | |
dc.contributor.other | คณะเภสัชศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-10-06T07:53:28Z | |
dc.date.available | 2021-10-06T07:53:28Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.other | Sepr 20/59 ค 3.5 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77482 | |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการค้นพบและพัฒนายา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย เป็นตำรายาที่รวบรวมข้อกำหนดในการควบคุมคุณภาพมาตรฐานยาสมุนไพร แต่ละชนิด ปัจจุบันตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทยมีทั้งหมด 4 เล่ม ชนิด ซึ่งมี สมุนไพร 44 ชนิด โดยจะมี ข้อมูลลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลักษณะของผง เซลล์ และเนื้อเยื่อภายใต้กล้องจุลทรรศน์ สารสำคัญ เกณฑ์ การยอมรับทางจุลชีววิทยาสำหรับยาเตรียมสมุนไพรรวมถึงวิธีทดสอบสมุนไพร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ข้อมูล วิธีการพิสูจน์เอกลักษณ์ในตำรามาตรฐานยาสมุนพไทยยังคงมีข้อจำกัดบางประการ เช่น องค์ประกอบทาง เคมีแปรผันตามแหล่งเพาะปลูก จึงน่าจะมีข้อมูลในส่วนของดีเอ็นเออันเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของสมุนไพร เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการพิสูจน์เอกลักษณ์ของสมุนไพรให้มีความแม่นยำมากขึ้น การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ใน การเพิ่มข้อมูลทางดีเอ็นเอในตำรายาสมุนไพรไทย เล่ม 1 ซึ่งประกอบด้วยสมุนไพรจำนวน10 ชนิด ได้แก่ บอระเพ็ด ชุมเห็ดเทศ ฟ้าทะลาย กะเพราแดง ขมิ้นชัน มะแว้งเครือ ไพล พริกไทยดำ สวาด และ ตานหม่อน โดยจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอชนิดลำดับนิวคลีโอไทด์ในตำแหน่ง ITS2 ซึ่งเป็นดีเอ็นเอในนิวเคลียส เมื่อนำลำดับนิ วคลีโอไทด์ในส่วน ITS มาทำนายโครงสร้างทุติภูมิพบว่าสมุนไพรแต่ละชนิดให้รูปแบบการขดตัวของ โครงสร้างทุติยภูมิที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม น่าจะมีการจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอตำแหน่งที่ได้รับ การยอมรับอื่นๆ เพิ่มเติม ได้แก่ matK, rbcl, COI และ trnH-psbAเพื่อจัดทำเป็นดีเอ็นเอบาร์โค้ดที่สมบูรณ์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) is a manuscript that provides information of medicinal plants and their specifications used for their authentication and quality. Currently, there are 4 volumes of THP which include 44 medicinal plants. The information of individual medicinal plants in the THP is given in term of monograph that consists of description of the plant, powder appearance, tissues and cells under microscope, chemical constituents, basic assays for interpretation and etc. However, there are some limitations for authentication; for example, variable quantity of chemicals in the plants from various sources. To solve this problematic issue, information of DNA sequence of the plant would be an alternativedue to its uniqueness of individual species. This research is aimed to provide DNA information of 10 plants presented in the THP volume I including BORAPHET, CHUMHETTHET, FA-THA-LAI, KA-PHRAO-DAENG, KHAMIN CHAN, MAWAENG KRUEO, PHLAI, PHRIK THAI DAM, SAWAAT and TAAN MON. ITS2 sequence existing in nuclear DNA of the 10 plants was exploited to generate DNA fingerprint. Predicted secondary structures of the ITS2 of the 10 plants were thoroughly dissimilar. Other DNA sequences used as standard regions including matK, rbcL, COI andtrnH-psbA will be further analyzed to complete DNA barcoding. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รหัสพันธุกรรม | en_US |
dc.subject | Genetic code | en_US |
dc.subject | สมุนไพร | en_US |
dc.subject | Herbs | en_US |
dc.title | ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชในตำรายาสมุนไพรไทย เล่ม 1 | en_US |
dc.title.alternative | DNA fingerprints of plants in Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | suchada.su@chula.ac.th | |
dc.subject.keyword | ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ | en_US |
dc.subject.keyword | ตำรายาสมุนไพรไทย | en_US |