DSpace Repository

การป้องกันการทุจริตในการเรี่ยไร โดยความโปร่งใสผ่านกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร (ภาคเอกชน)

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปิติ เอี่ยมจำรูญลาภ
dc.contributor.author คีรีวรรณ ลาภล้ำวานิช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-10-24T03:30:09Z
dc.date.available 2021-10-24T03:30:09Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77644
dc.description เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 en_US
dc.description.abstract เกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการเรี่ยไร การรับอนุญาตของผู้เรี่ยไร ตัวผู้รับผลประโยชน์ ประมาณการร้อยละของ เงินที่จะถูกแจกจ่ายให้ผู้รับผลประโยชน์ผลการรวบรวมและการจัดสรรเงินที่ได้รับตลอดจนการใช้เงิน 3. มาตรการ เสริมสร้างความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ให้หน่วยงานของรัฐที่ท าการอนุญาตตรวจสอบความมีตัวตน ของผู้รับผลประโยชน์ก่อนอนุญาต โดยใบสมัครให้แนบหนังสือมอบอำนาจหรือสัญญา (ข้อตกลง) ระหว่าง ผู้ขอรับอนุญาตกับผู้รับผลประโยชน์ ให้ผู้เรี่ยไรที่ได้รับอนุญาตจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายและนำส่งให้หน่วยงาน ของรัฐภายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อทำการกระทบยอดข้อมูลก่อนการเปิดเผยข้อมูล และกำหนดให้ใช้ บัญชีเงินฝากธนาคารในการจัดเก็บเงินที่เรี่ยไรได้โดยเฉพาะในแต่ละโครงการเรี่ยไร 4. มาตรการให้การเปิดเผย ข้อมูลมีความรวดเร็ว โดยให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการตรวจสอบอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาที่กำหนด และเปิดเผยผลการรวบรวบและการใช้จ่ายเงินเป็นประจำปีอย่างสม่ำเสมอ และกรณีมีข้อมูลเปลี่ยนแปลง กระทบต่อทะเบียน ให้ผู้เรี่ยไรที่ได้รับอนุญาตแจ้งให้หน่วยงานของรัฐทราบภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อปรับปรุงข้อมูลในทะเบียนให้ถูกต้อง ทันการณ์ 5. มาตรการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมการตรวจสอบ และการอภิปรายสาธารณะ เพื่อให้กลไกความโปร่งใสทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัยกลไกการมี ส่วนร่วมของประชาชนและกลไกความรับผิดชอบในการตรวจสอบ โดยกำหนดให้สาธารณชนมีสิทธิ ตรวจสอบบัญชีรายรับ-รายจ่าย และเอกสารข้อมูลต่าง ๆ ให้กรมการปกครองจัดหาช่องทางการร้องเรียน เพื่อให้ ผู้เสียหายจากการเรี่ยไรหรือมีเหตุสงสัยสามารถร้องเรียน นำไปสู่การวิพากษ์วิจารย์สาธารณะและร่วมกันปราศรัย ข้อสงสัย และให้บุคคลที่ได้รับอนุญาตท าการเรี่ยไร มีหน้าที่ชี้แจงต่อสาธารณะโดยชัดแจ้งในข้อสงสัยนั้น รวมทั้งภาครัฐต้องจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์การเผยแพร่ทะเบียนผู้เรี่ยไรที่ได้รับอนุญาตต่อสาธารณะให้ ประชาชนได้ทราบและสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ประชาชนในการรักษาสิทธิที่จะได้รับข่าวสาร สิทธิในการรับฟัง ความคิดเห็น สิทธิในการมีส่วนร่วมตรวจสอบ เพื่อให้ความโปร่งใสทำงานได้อย่างเต็มที่ ผู้เรี่ยไรกระทำการทุจริตได้ ยากขึ้นและทำให้ความโปร่งใสเป็นเครื่องมือป้องกันการทุจริตในกระบวนการเรี่ยไรได้ en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.131
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การเรี่ยไร en_US
dc.subject การทุจริต en_US
dc.title การป้องกันการทุจริตในการเรี่ยไร โดยความโปร่งใสผ่านกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร (ภาคเอกชน) en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline กฎหมายเศรษฐกิจ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor piti@law.chula.ac.th
dc.subject.keyword การควบคุมการเรี่ยไร en_US
dc.subject.keyword การป้องกันการทุจริต en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2020.131


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record