DSpace Repository

การปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อมูลรหัสบริษัท โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาบริษัท ABC

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธารทัศน์ โมกขมรรคกุล
dc.contributor.author นุสรา ชาติเวียง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-10-29T08:22:22Z
dc.date.available 2021-10-29T08:22:22Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77665
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อมูลรหัสบริษัทของบริษัทกรณีศึกษา ABC ซึ่งเป็นผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ เนื่องจากค่าดัชนีชี้วัดผลงงานด้านสัดส่วนคำขอที่ดำเนินการเสร็จทันเวลาต่ำกว่าเป้าหมายที่บริษัทตั้งไว้ตั้งปต่ปี 2019 และลดลงอย่างต่อเนื่องในปี 2020 ผู้ศึกษาจึงได้จัดการประชุมระดมความคิดเห็นจากพนักงานภายในหน่วยงาน เพื่อวิเคราะห์กระบวนการทำงานโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม 5W-1H เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนต่างๆ และใช้เทคนิค ECRS กำหนดแนวทางในการปรุบปรุงทั้ง 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) กำจัดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน 2) ลดการดำเนินการผ่านหลายระบบในเวลาเดียวกัน 3) ลดขั้นตอนการทำงานที่ไม่สร้างคุณค่า 4) ปรับปรุงร่วมกันตามรูปแบบที่ 1-3 โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ผ่านโปแกรมอารีนา ผลจากการศึกษาพบว่าการปรับปรุงโดยใช้เทคนิค ECRS ตามการปรับปรุงในรูปแบบที่ 4 ทำให้ระยะเวลาเฉลี่ยที่พนักงานใช้ในการดำเนินการคำขอลดลงเหลือเพียง 8.68 นาที และลดระยะเวลาคอยโดยรวมเฉลี่ยต่อคำขอเหลือ 6.03 นาที ซึ่งสอดคล้องกับระดับอรรถประโยชน์ของพนักงานในการทำงานบนระบบเฉลี่ยลดลงเหลือเพียงร้อยละ 14 และค่าดัชนีชี้วัดผลงานของสัดส่วนคำขอที่ดำเนินการเสร็จทันเวลาเพิ่มขึ้นร้อยละ 99.53 en_US
dc.description.abstractalternative The research aims to improve the company code information management process in the case study of ABC company that provides logistics service. According to the key performance indicator, the percentage of ticket on time is consistently falling in 2019 and continuing in 2020. In the study process, there are brainstorming meetings with the employees to analyze the process and identify the problem. Also applied the ECRS method to design the concept of the improvement process. The study proposed four ways to improve: 1) Eliminate redundant workflows 2) Reduce operations through multiple systems simultaneously 3) Reduce workflows that do not create value to the process 4) Improved jointly according to 1-3. The Arena program was used to analyze and determine the workflow that increases the percentage of ticket on time by using primary and secondary data in 2019. The results show that the improvement of the process according to model no.4 can reduce the repetitive process and work with multiple systems simultaneously. Also, it reduced a non-value-added activity. From the simulation result, the fourth model can improve the efficiency of the process respectively. The result shows that the average processing time and waiting time per ticket can decrease 8.68 minutes and 6.03 minutes which relate with the employee utilization is decreased by 14%. Also, increase the key performance index of percentage ticket on time to 99.53%. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.217
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject รหัสและการเข้ารหัส en_US
dc.subject บริษัท -- เลขรหัส en_US
dc.subject Ciphers en_US
dc.subject Corporations -- Code numbers en_US
dc.title การปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อมูลรหัสบริษัท โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ : กรณีศึกษาบริษัท ABC en_US
dc.title.alternative Improvement of company code information management process by using simulation model : a case study of ABC company en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2020.217


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record