DSpace Repository

คุณภาพและประสิทธิภาพของการทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของแบบทดสอบอิงปริเขต : รายงานการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author สุพัฒน์ สุกมลสันต์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.date.accessioned 2006-07-14T01:00:02Z
dc.date.available 2006-07-14T01:00:02Z
dc.date.issued 2536
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/776
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการ คือ เพื่อจัดสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาได้ และเพื่อศึกษาคุณภาพและประสิทธิภาพของการทดสอบดังกล่าว กลุ่มพลวิจัย ได้แก่นิสิตชั้นปีที่ 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาาลัย ทีกำลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน II ปี 2533 จำนวน 360 คน จาก 2,404 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายแล้วแบ่งเป็น 2 กลุ่มเท่ากัน กลุ่มละ 180 คน ให้กลุ่มที่ 1 สอบแบบทดสอบอิงปริเขตซึ่งมีอยู่ 105 ข้อ โดยวิธีประเพณีนิยม อและอีกกลุ่มหนึ่งทดสอบโดยวิธีปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาโดยใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหา 5 ปริเขต ๆ ละ 21 ข้อ และสร้างเป็นแบบปิรามิด 5 ชั้น แล้วจึงนำผลการทดสอบหลาย ๆด้านมาเปรียบเทียบกัน โดย z-test และ t-test ผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมที่จัดสร้างขึ้นทำงานได้ดีเป็นที่น่าพอใจ และการทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหามีคุณภาพและประสิทธิภาพดีกว่าการทดสอบโดยวิธีประเพณีนิยม กล่าวคือ มีความตรงเชิงพยากรณ์สูงกว่า มีความเชื่อถือได้ไม่ต่างกัน ใช้ข้อทดสอบน้อยกว่าร้อยละ 50 มีความคลาดเคลื่อนในการวัดน้อยกว่า ใช้เวลาในการทดสอบน้อยกว่าประมาณ 3 เท่า และทำให้ผู้สอบมีเจตคติในการสอบดีกว่า en
dc.description.abstractalternative The two main puproses of this study were to study a computer program for content-based adaptive testing of a domain-referenced test and to evaluate its quality and efficiency. Of 2,404 first-year students studying Foundation English II at Chulalongkorn University in 1992, 360 were randomly selected and used as subjects. They were divided into 2 groups of 180. The first group was assigned to take a 105-item domain-referenced test by means of a conventional testing procedure and the other by computerized content-based testing. The test for the second procedure was a 5-domain pyramidal adaptive test. Each domain consisted of 21 items which were arranged into 5 steps. The results of the tests were compared in various aspects by using z-tests and t-tests. It was found that the written program worked satisfactorily and the computerized content-based adaptive test was of higher quality and more efficient than the conventional test. The former had higher predictive validity and equal dependability, required 50% less test items and had less measurement error. It also required less testing time, approximately three times less than the latter. Furthermore, it gave the testees a more positive attitude towards testing. en
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2535 en
dc.format.extent 18172952 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ความเที่ยง en
dc.subject การทดสอบปรับเปลี่ยน en
dc.subject การวัดผลทางการศึกษา en
dc.subject ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ en
dc.subject แบบทดสอบอิงปริเขต en
dc.subject โปรแกรมคอมพิวเตอร์ en
dc.subject การทดสอบแบบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหา en
dc.title คุณภาพและประสิทธิภาพของการทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของแบบทดสอบอิงปริเขต : รายงานการวิจัย en
dc.title.alternative Quality and efficiency of computerized content-based adaptive testing of a domain-referenced test en
dc.type Technical Report en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record