dc.contributor.advisor |
อรุณศิริ ชิตางกูร |
|
dc.contributor.author |
ธีระภาษณ์ เสงี่ยมสุข |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-03T01:35:22Z |
|
dc.date.available |
2022-03-03T01:35:22Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78141 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
BTEX ประกอบด้วย เบนซีน, ทอลูอีน, เอทิลเบนซีน และไซลีน จัดเป็นสารอินทรีย์ที่ระเหยง่าย นิยมใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เนื่องจากสารกลุ่มนี้เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม จึงจำเป็นต้องมีวิธีการตรวจสอบปริมาณสารกลุ่มนี้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ในงานวิจัยนี้ ศึกษาการแยกสารผสม BTEX ด้วยแก๊สโครมาโทกราฟีโดยใช้อนุพันธ์บีตาไซโคลเดกซ์ทริน 3 ชนิดเป็นเฟสคงที่ ได้แก่ 2,3 ได โอ เมทิล 6 โอ เทอร์ต บิวทิลไดเมทิลไซลิลบีตาไซโคลเดกซ์ทริน (diMe); 2 โอ เมทิล 3 โอ แอซีทิล 6 โอ เทอร์ต บิวทิลไดเมทิลไซลิลบีตาไซโคลเดกซ์ทริน (MeAc) และ 2,3 ได โอ แอซีทิล 6 โอ เทอร์ต บิวทิลไดเมทิลไซลิลบีตาไซโคลเดกซ์ทริน (diAc) จากการทดลองพบว่า diAc ไม่สามารถแยกสารผสม BTEX ได้อย่างสมบูรณ์ แม้จะลดอุณหภูมิลงถึง 40 °C แล้วก็ตาม ส่วนทั้งคอลัมน์ diMe และ MeAc สามารถแยกสารผสม BTEX ได้อย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 85 °C ภายในเวลาไม่ถึง 2 นาที แต่ให้ลำดับการแยกที่แตกต่างกัน ในงานวิจัยนี้พบว่า คอลัมน์ MeAc แยก BTEX ได้อย่างสมบูรณ์และใช้เวลาน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับรายงานวิจัยที่ผ่านมา (เพียง 1.32 นาที) จากผลการทดลองจะเห็นว่าชนิดของหมู่แทนที่บนวงไซโคลเดกซ์ทรินมีผลต่อคุณภาพการแยกและลำดับการแยกสารผสม BTEX |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
BTEX consists of benzene, toluene, ethylbenzene and xylenes. They are volatile organic compounds and are widely used in petrochemical industries. BTEX can cause harmful effects to humans and environments; therefore, a fast and accurate technique for BTEX analysis is needed. In this work, BTEX separation was studied by gas chromatography using three different beta-cyclodextrin (β-CD) derivatives as stationary phases: 2,3-di-O-methyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl-β-CD (diMe); 2-O-methyl-3-O-acetyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl-β-CD (MeAc) and 2,3-di-O-acetyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl-β-CD (diAc). The results showed that diAc column could not provide complete separation of the BTEX mixture even at low temperature of 40 °C. Both diMe and MeAc columns could completely separated BTEX at 85 °C in less than two minutes but they gave different elution order. Compared to previous work, MeAc column used in this work provided complete separation of BTEX with the shortest analysis time of 1.32 minutes. The results showed that the types of substituents on cyclodextrin affect both separation quality and elution order of BTEX. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
โครมาโตกราฟี |
en_US |
dc.subject |
ไซโคลเดกซตริน |
en_US |
dc.subject |
Gas chromatography |
en_US |
dc.subject |
Cyclodextrins |
en_US |
dc.title |
การแยก BTEX ด้วยแก๊สโครมาโทกราฟีที่ใช้อนุพันธ์บีตาไซโคลเดกซ์ทรินเป็นเฟสคงที่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Gas chromatographic separation of BTEX using derivatized beta-cyclodextrins as stationary phases |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|