DSpace Repository

การพัฒนาวิธีย่อยโลหะแลนทาไนด์จากแร่

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสาวรักษ์ เฟื่องสวัสดิ์
dc.contributor.advisor โสมวดี ไชยอนันต์สุจริต
dc.contributor.author กิตตินนท์ แก้วแท้
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-03-03T03:56:58Z
dc.date.available 2022-03-03T03:56:58Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78154
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 en_US
dc.description.abstract ในปัจจุบันความต้องการนาโลหะแลนทาไนด์มาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ในทางกลับกันแร่โมนาไซต์ซึ่งเป็นแหล่งของโลหะแลนทาไนด์นั้นมีอยู่อย่างจำกัดและมีราคาสูง ในงานวิจัยนี้จึงสนใจการย่อยโลหะแลนทาไนด์จากแร่โมนาไซต์ โดยทำการทดลองในหม้อนึ่งความดัน (Teflon lined autoclave) พร้อมกับศึกษาถึงผลของความเข้มข้น อุณหภูมิ และเวลาในการย่อยแร่ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไฮดรอกไซด์เหลว กรดไฮโดรคลอริก และกรดไนตริก ผลการศึกษาพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการย่อยแร่ด้วยเบสเพื่อกำจัดฟอสเฟตคือการย่อยแร่ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 50% w/v อุณหภูมิ 110 °C นาน 4 ชั่วโมง สำหรับการย่อยด้วยกรดเพื่อละลายแลนทาไนด์จากของแข็งให้อยู่ในสารละลายพบว่าการย่อยแร่ด้วยกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 12.1 M อุณหภูมิ 80 °C นาน 2 ชั่วโมงเป็นภาวะในการทดลองที่ดีที่สุด โดยพบว่าน้ำหนักที่หายไป (% loss) หลังจากการย่อยด้วยเบสและกรดมีค่าเท่ากับ 16% และ 7.1% ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค x-ray diffraction (XRD) และ x-ray fluorescence (XRF) จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการใช้หม้อนึ่งความดันในการย่อยแร่โมนาไซต์ให้ผลดี en_US
dc.description.abstractalternative While the demand for lanthanide metals is extremely and rapidly increasing; monazite ore, one of the most important sources of lanthanides, has become limited and high-priced. In this work, NaOH and acid digestions using Teflon lined autoclave were presented. The effects of digesting substances (NaOH solution, molten NaOH, HCl and HNO3), their concentration, temperature and time were studied. The best condition to eliminate insoluble phosphate was obtained with 50% w/v NaOH at 110 °C for 4 hours. Acid digestion was then carried out to dissolve lanthanides into solution. The most efficient approach was obtained using 12.1 M HCl at 80 °C for 2 hours. The weight lost percentages from NaOH and HCl digestions of 16% and 7.1%, respectively, being in good agreement with XRD and XRF analyses, show that Teflon lined autoclave could be employed to successfully digest monazite. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โลหะหายาก en_US
dc.subject การถลุงแร่ en_US
dc.subject Rare earth metals en_US
dc.subject Smelting en_US
dc.title การพัฒนาวิธีย่อยโลหะแลนทาไนด์จากแร่ en_US
dc.title.alternative Development of Lanthanide Metals Digestion from Ores en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record