DSpace Repository

การเข้าใช้พื้นที่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่ป่าปลูกใหม่ในพื้นที่ป่ามหาวิทยาลัย จังหวัดสระบุรี : รายงานผลการดำเนินงาน

Show simple item record

dc.contributor.author วิเชฏฐ์ คนซื่อ
dc.contributor.author กิตติภูมิ จันทร์ศรี
dc.contributor.author รชตะ มณีอินทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-03-07T05:59:18Z
dc.date.available 2022-03-07T05:59:18Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78180
dc.description.abstract การศึกษาชนิดของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่ป่าปลูกที่มีช่วงระยะเวลาในการปลูกแตกต่างกันส่งผลให้พบจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเข้ามาใช้พื้นที่แตกต่างกัน โดยพบทั้งสิ้นจำนวน 7 ชนิด ได้แก่ อึ่งอ่างบ้าน, Kaloula pulchra อึ่งขาคำ, Microhyla pulchra อึ่งน้ำเต้า, Microhyla fissipes อึ่งหลังจุด, Micryletta inornata กบหนอง, Fejervarya limnocharis เขียดน้ำนอง, Occidozyga lima และปาดบ้าน, Polypedates leucomystax โดยแบ่งออกการพบในพื้นที่ดังนี้ ป่าเก่า พบสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกดังนี้ อึ่งอ่างบ้าน, อึ่งขาคำ, อึ่งน้ำเต้า, อึ่งหลังจุด, กบหนอง, เขียดน้ำนอง และ ปาดบ้าน ป่าสักปลูก พบสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกดังนี้ อึ่งขาคำ และ กบหนอง ป่านิเทศ พบสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกดังนี้ อึ่งอ่างบ้าน, อึ่งขาคำ, อึ่งน้ำเต้า, อึ่งหลังจุด และ กบหนอง ป่า 14 ไร่ พบสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกดังนี้ อึ่งน้ำเต้า และ กบหนอง แสดงให้เห็นว่า ป่าที่มีอายุมากจะมีสัตว์สะเทินน้ำสะเทินกเข้าไปอาศัยอยู่มากกว่าป่าปลูกใหม่ ผลการศึกษาชนิดอาหารของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกด้วยวิธี Stomach reversed พบว่า สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่สำรวจพบเหยื่ออาหารในกระเพาะอาหารมากที่สุด คือ กบหนอง รองลงมา ได้แก่ อึ่งขาคำ อึ่งน้ำเต้า อึ่งอ่างบ้าน เขียดน้ำนอง และปาดบ้าน ตามลำดับ โดยชนิดของเหยื่ออาหารส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มของสัตว์ขาข้อที่อาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน ได้แก่ มด ปลวก แมลงสาบป่า มวน ด้วง ตัวกะปิ แมงป่องเทียม แมงมุม และตัวกะปิ en_US
dc.description.abstractalternative A Study of Amphibians in reforestation at a time of growing different result to find the number of amphibians in the different areas. We found a total of seven species of Kaloula pulchra, Microhyla pulchra, Microhyla fissipes, Micryletta inornata, Fejervarya limnocharis, Occidozyga lima and, Polypedates leucomystax. Amphibain have found. in the area of old forest composed of Kaloula pulchra, Microhyla pulchra, Microhyla fissipes, Micryletta inornata, Fejervarya limnocharis, Occidozyga lima and, Polypedates leucomystax. At teak growing forest found Microhyla pulchra and Fejervarya limnocharis, at new forest found Kaloula pulchra, Microhyla pulchra, Microhyla fissipes, Micryletta inornata, Fejervarya limnocharis and 14 Rai forest found Microhyla fissipes, and Fejervarya limnocharis. We found the amphibian in an older forest suitable to live more than a newly planted forest. The study of the food of amphibians with stomach reversed method found that Fejervarya limnocharis more frequency found the insect in the stomach, followed by Microhyla pulchra, Microhyla fissipes, Kaloula pulchra, Occidozyga lima and Polypedates leucomystax, respectively. Most foods were benthos, including ants, termites, cockroaches, scorpions, spider, beetle and wood lice. en_US
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2557 en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ -- ไทย -- สระบุรี en_US
dc.title การเข้าใช้พื้นที่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่ป่าปลูกใหม่ในพื้นที่ป่ามหาวิทยาลัย จังหวัดสระบุรี : รายงานผลการดำเนินงาน en_US
dc.title.alternative Habitat utilization of amphibian in reforestation area at Chulalongkorn University forest, Saraburi Province en_US
dc.type Technical Report en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record