dc.contributor.advisor |
Duangamol Tungasmita |
|
dc.contributor.author |
Peerat Malineekul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-14T02:18:55Z |
|
dc.date.available |
2022-03-14T02:18:55Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78213 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Department of Chemistry, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2016 |
en_US |
dc.description.abstract |
This research investigated the modification of silicon wafer substrate and preparation of titanium silicalite-1 thin film by using modified silicon nanowires as substrates. Silicon nanowires arrays were modified by using the metal-catalyzed electroless etching (MCEE) method. The length of silicon nanowires was linearly increased with etching time. Titanium silicalite-1 thin films were synthesized on modified silicon substrates using nanosized titanium silicalite-1 particles as seed by hydrothermal treatment. The film formation and catalytic properties were characterized using scanning electron microscope (SEM), X-ray diffractometer (XRD) and nitrogen adsorption-desorption isotherm. It was indicated that microporous materials with MFI structure showed good catalytic activity in the phenol hydroxylation with hydrogen peroxide. Titanium silicalite-1 thin film showed high phenol conversion and hydroquinone selectivity. Although iron-titanium silicalite-1 provided lower phenol conversion, it gave higher selectivity to catechol. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการปรับปรุงแผ่นซิลิกอน และทำการสังเคราะห์ไทเทเนียมซิลิกาไลต์-1 ชนิดฟิล์มบาง โดยใช้เส้นลวดนาโนซิลิกอนสำหรับใช้เป็นชั้นฐานในการสังเคราะห์วัสดุฟิล์มบางนี้ เส้นลวดนาโนซิลิกอนเตรียมได้จากวิธีเมทอล-แคทาไลซ์ อิเล็กโทรเลส เอทชิ่ง โดยความยาวของเส้นลวดนาโนซิลิกอนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างคงที่ตามเวลาที่ใช้ในการทาปฏิกิริยา ไทเทเนียมซิลิกาไลต์-1 ชนิดฟิล์มบางสังเคราะห์ได้โดยใช้ไทเทเนียมซิลิกาไลต์-1 ที่มีขนาดอนุภาคระดับนาโนในการก่อผลึกร่วมกับการไฮโดรเทอร์มอล วัสดุที่สังเคราะห์ได้ถูกนามาตรวจสอบลักษณะเฉพาะโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ และการดูดซับแก๊สไนโตรเจน พบว่าวัสดุที่เตรียมได้มีรูพรุนระดับไมครอนและโครงสร้างแบบเอ็มเอฟไอ จากการนำวัสดุที่สังเคราะห์ได้นี้มาทดสอบความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของฟีนอลด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์พบว่า ไทเทเนียมซิลิกาไลต์-1 ชนิดฟิล์มบางให้ค่าการเปลี่ยนแปลงของฟีนอลและการเลือกจำเพาะต่อไฮโดรควิโนนที่สูง เมื่อใช้เหล็กไทเทเนียมซิลิกาไลต์-1 ชนิดฟิล์มบาง พบว่าค่าการเปลี่ยนแปลงของฟีนอลลดน้อยลง แต่ให้ค่าการเลือกจำเพาะต่อแคทิคอลในปริมาณที่มากขึ้น |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Thin films |
en_US |
dc.subject |
Silicon |
en_US |
dc.subject |
ฟิล์มบาง |
en_US |
dc.subject |
ซิลิกอน |
en_US |
dc.title |
Titanosilcate porous thin film on silicon nanowire as catalyst for oxidation |
en_US |
dc.title.alternative |
ฟิล์มบางรูพรุนไทเทโนซิลิเกตบนเส้นลวดนาโนซิลิกอนเพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |