dc.contributor.advisor |
พัฒทรา ธีรพิบูลย์เดช |
|
dc.contributor.author |
สิราวรรณ รุ่งเลิศสิทธิกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-14T07:08:42Z |
|
dc.date.available |
2022-03-14T07:08:42Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78224 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาความคงตัวของสีแอนโทไซยานินจากดอกอัญชัน (BPAn) และพัฒนาแผ่นตรวจวัดพีเอชจากแบคทีเรียเซลลูโลส (BC) ที่มี BPAn สารสกัด BPAn นี้จะถูกแยกส่วนด้วยการลงคอลัมน์ Diaion HP20 และชะด้วยเมทานอลจะได้สารสกัด BPAn-M สารสกัดแอนโทไซยานินทั้งสองนี้จะให้สีในช่วงพีเอช 1-14 เหมือนกันแต่สารสกัด BPAn-M มีความเข้มข้นของแอนโทไซยานินมากกว่า BPAn ทั้งสารสกัด BPAn และ BPAn-M แสดงความเสถียรต่อแสงและความร้อนแตกต่างกัน นอกจากนี้ได้เตรียมแผ่นตรวจวัดพีเอช BC-Alg-BPAn โดยแช่แผ่นแบคทีเรียเซลลูโลสในสารละลายแอลจิเนตและสารละลาย BPAn นำแผ่นตรวจวัดหลังจากทำให้แห้งแล้วไปศึกษาสมบัติทางเคมี-กายภาพด้วยเทคนิค FE-SEM และ FTIR แผ่นตรวจวัดพีเอชที่ใช้สารละลาย BPAn ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 จะให้การเปลี่ยนแปลงของสีชัดเจนมากที่สุดเมื่อมองด้วยตาเปล่า |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This work aimed to study color stability of anthocyanins extracted from butterfly pea (BPAn) and to develop a smart pH sensing sheet based on bacterial cellulose (BC) nanofibers doped with BPAn. The BPAn was fractionated over a Diaion HP20 column and eluted with methanol to obtain BPAn-M. Both anthocyanin extracts showed the same color shades in the range of pH1-14 but the BPAn-M contained more anthocyanin content than BPAn. Both BPAn and BPAn-M exhibited different stability toward light and temperature. Moreover, the pH sensing sheet, namely BC-Alg-BPAn, was prepared by immersing a bacteria cellulose (BC) in the alginate and BPAn solutions. After oven drying, BC-Alg-BPAn was characterized its chemico-physical properties by FE-SEM and FTIR methods. The pH sensing sheet using 0.5% of BPAn solution gave the clearest pH color changing by naked-eye detection. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
แอนโทไซยานินส์ |
en_US |
dc.subject |
Anthocyanins |
en_US |
dc.title |
การพัฒนาแผ่นตรวจวัดพีเอชด้วยเซลลูโลสและแอนโทไซยานินจากดอกอัญชัน |
en_US |
dc.title.alternative |
Development of a colorimetric pH sensing sheet using cellulose and anthocyanin from butterfly pea flower |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|