dc.contributor.author |
จักรวรรดิ เรืองธัมรงค์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-16T08:41:50Z |
|
dc.date.available |
2022-03-16T08:41:50Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78292 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ไมโคร/นาโนพลาสติก (micro/nanoplastics) เป็นชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็ก (<5 มิลลิเมตร) ซึ่งเป็น มลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นักวิทยาศาสตร์จำนวนมากได้พยายามระบุชนิดและตรวจวัดปริมาณของ ไมโคร/นาโนพลาสติกเหล่านี้ งานวิจัยนี้จึงนำเสนอวิธีการตรวจวัดปริมาณพอลิสไตรีนที่มีขนาด 1.1 ไมโครเมตร ในน้ำ ด้วยเทคนิคเซอร์เฟสเอนฮานซ์รามานสแกตเตอริง ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้สำหรับเพิ่มความเข้มของสัญญาณ รามาน โดยอาศัยเซอร์เฟสพลาสมอนเรโซแนนซ์จากซับสเตรต ที่เตรียมจากอนุภาคนาโนของเงินที่สังเคราะห์ โดยใช้ไตรโซเดียมซิเตรทรีดิวซ์ซิลเวอร์ไอออนตามวิธีของ Lee และ Meisel และ หาลักษณะเฉพาะอนุภาค นาโนของเงินด้วยเครื่องยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ตัวอย่างเม็ดพอลิสไตรีนถูกเตรียมโดยผสมคอลลอยด์ ของ อนุภาคนาโนของเงินกับสารแขวนลอยของเม็ดพอลิสไตรีน และปล่อยให้แห้ง จากนั้นละลายเม็ด พอลิสไตรีนให้เป็นเนื้อเดียวกับอนุภาคนาโนของเงินด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ แล้วนำไปบันทึกสเปกตรัมด้วย เครื่องรามานสเปกโทรมิเตอร์ ในการบ่งชี้ปริมาณของเม็ดพอลิสไตรีนจะใช้อัตราส่วนของความสูงของพีคที่ บริเวณ 1001 cm⁻¹ (จาก ring breathing mode ของพอลิสไตรีน) และ 1050 cm⁻¹ (จาก C-C stretching mode ของซิเตรทซึ่งเป็นสารช่วยเสถียรของ silver nanoparticles) เนื่องจากความสูงของพีคอาจ เปลี่ยนแปลงได้หากการโฟกัสตัวอย่างไม่เหมือนเดิมทุกครั้งที่ทำการบันทึกสเปกตรัม จากการทดลองพบว่า ความเข้มข้นของพอลิสไตรีนในน้ำที่ต่ำที่สุดที่สามารถตรวจวัดคือ 0.1% |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Micro/nanoplastics are small pieces of plastic (<5 mm), which pollute the environment. Several scientists have tried to identify and quantify the micro/nanoplastics. This research proposed the method for determining polystyrene in water using surface-enhanced Raman scattering technique (SERS), which is a technique to enhance Raman signals. The enhancement of Raman signal comes from the effects of surface plasmon resonance from SERS substrate, which are silver nanoparticles (AgNPs) synthesized by a citrate-reduction method following Lee and Meisel. AgNPs were characterized using a UV-visible spectrophotometer. Polystyrene beads samples were prepared by mixing the AgNPs colloid with polystyrene beads, drying, and dissolving by organic solvents to homogenize the polystyrene beads with AgNPs. Then, the samples were measured by a Raman microscope. To determine the concentration of polystyrene beads, Raman intensity ratios of peaks at 1001 cm⁻¹ (attributed to ring breathing mode of polystyrene) and 1050 cm⁻¹ (attributed to C-C stretching mode of citrate, which is a stabilizer of AgNPs) were plotted versus concentrations of polystyrene beads. As a result, the detection limit of this technique for polystyrene in water is 0.1%. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไมโครพลาสติก |
en_US |
dc.subject |
Microplastics |
en_US |
dc.title |
เทคนิคเซอร์เฟสเอนฮานซ์รามานสแกตเตอริงสำหรับการตรวจวัดไมโคร/นาโนพลาสติก |
en_US |
dc.title.alternative |
Surface-Enhanced Raman Scattering (SERS) Technique for Determining Micro/Nano Plastics |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |