dc.contributor.advisor |
Supot Hannongbua |
|
dc.contributor.author |
Chanoknan Phongern |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-16T09:50:06Z |
|
dc.date.available |
2022-03-16T09:50:06Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78299 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
Thai jasmine rice is an aromatic rice with variable prices due to the odorant from volatile gas called 2-acetyl-1-pyrroline (2AP), which a key odor-active compound contributing to the pleasant smell of the cooked rice. However, the 2AP was rapidly gone after 6 months of storage or at high temperature condition. Beta-cyclodextrin (βCD) and its derivatives (e.g. methyl (M) and hydroxypropyl (HP) βCDs) have been extensively used to enhance the stability of many volatile compounds through an encapsulation process into the lipophilic inner cavity. In the present study, the dynamics behavior and stability of inclusion complexes of 2AP with βCDs were studied using all-atom molecular dynamics simulations and Gibbs free energy calculations. The obtained results showed that the van der Waals driven encapsulation of 2AP could adapt the structures of the βCDs to become more stable conformers. The structural data and free energy results demonstrated that the 2,6-DMβCD is the most suitable host for 2AP encapsulation. In addition, the modified βCDs, especially 6-HPβCD and 2,6-DMβCD, could enhance the stability of 2AP better than natural βCD. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ข้าวหอมมะลิเป็นข้าวหอมที่มีสารหอมระเหยคือ 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) ซึ่งเป็น สารประกอบสำคัญที่ให้กลิ่นหอมเมื่อหุงสุก อย่างไรก็ตามสารหอมระเหยดังกล่าวจะสูญเสียได้ง่ายเมื่อ ให้ความร้อนหรือเก็บไว้เป็นเวลานาน บีตาไซโคลเดกซ์ทรินและอนุพันธ์ของบีตาไซโคลเดกซ์ทริน อาทิ เช่น เมทิล หรือ ไฮดรอกซีโพรพิล บีตาไซโคลเดกซ์ทริน ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางเพื่อเพิ่มความ เสถียรของสารระเหยต่าง ๆ ผ่านกระบวนการเอนแคปซูเลชันโดยให้สารระเหยเข้าไปยังโพรงที่ไม่มีขั้ว ของบีตาไซโคลเดกซ์ทริน ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทำการศึกษาโครงสร้าง พฤติกรรมพลวัต และความ เสถียรของการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของสารหอมระเหย 2AP กับ บีตาไซโคลเดกซ์ทริน โดยใช้การ จำลองพลวัตเชิงโมเลกุลของทุกอะตอมและจากการคำนวณพลังงานอิสระของกิบส์พบว่าแรงแวน เดอร์วาลส์เป็นตัวผลักดันการห่อหุ้มสารหอมระเหย 2AP สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างของบีตาไซ โคลเดกซ์ทรินและอนุพันธ์ของบีตาไซโคลเดกซ์ทรินให้มีความเสถียรมากขึ้น ข้อมูลด้านโครงสร้างและ พลังงานอิสระแสดงให้เห็นว่า 2,6-DMβCD เป็นโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการห่อหุ้มสารหอม ระเหย 2AP นอกจากนี้บีตาไซโคลเดกซ์ทรินที่ถูกดัดแปลง โดยเฉพาะ 6-HPβCD และ 2,6-DMβCD สามารถเพิ่มความเสถียรของสารหอมระเหย 2AP ได้ดีกว่าบีตาไซโคลเดกซ์ทรินแบบธรรมชาติ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Thai jasmine rice -- Flavor and odor |
en_US |
dc.subject |
Odor control |
en_US |
dc.subject |
ข้าวหอมมะลิ -- กลิ่นรสและกลิ่น |
en_US |
dc.subject |
การควบคุมกลิ่น |
en_US |
dc.title |
Encapsulation of Thai Jasmine rice flavor |
en_US |
dc.title.alternative |
การกักเก็บกลิ่นข้าวหอมมะลิโดยกระบวนการเอนแคปซูเลชัน |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |