DSpace Repository

ระบุลักษณะของวัสดุอะคูสติกที่มีผลต่อสมบัติในการดูดซับเสียง

Show simple item record

dc.contributor.advisor นำพล อินสิน
dc.contributor.author พิชญา ศรีจุฬางกูล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-03-17T01:50:45Z
dc.date.available 2022-03-17T01:50:45Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78304
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract ปัญหาเสียงรบกวนเป็นปัญหาที่พบได้ทั่วไป ซึ่งปัญหาเสียงรบกวนนี้หากได้รับเสียงดังในระยะเวลานาน อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ ดังนั้นอุตสาหกรรมต่าง ๆ จึงได้มีการผลิต “วัสดุอะคูสติก (acoustic materials)” เพื่อนำมาใช้ในการลดปัญหาเสียงรบกวนดังกล่าว ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาลักษณะทางกายภาพของวัสดุที่มีสมบัติในการดูดซับเสียง โดยศึกษาลักษณะโครงสร้างทางกายภาพของวัตถุ เช่น ขนาดของเส้นใย และพื้นผิวของเส้นใย เพื่อหาวัสดุทางเลือกที่มีสมบัติเหมาะสมมาใช้เป็นตัวดูดซับเสียง ในงานวิจัยนี้ได้นำวัสดุจากธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ที่มีลักษณะเป็นเส้นใยมาประยุกต์เป็นแผ่นดูดซับเสียง ด้วยวิธีการขึ้นรูปแบบไม่ถักทอ พร้อมกับมีการควบคุมนํ้าหนักและความหนาของชิ้นงาน จากนั้นนำไปทำการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและทดสอบสมบัติในการดูดซับเสียงในช่วงความถี่ 125 – 6300 เฮิรตซ์ผลการศึกษา พบว่า ค่าสัมประสิทธ์การลดลงของเสียง (NRC) ของเส้นใยพอลิพรอพิลีนมีค่าเท่ากับ 0.30 รองลงมาคือเส้นใยนุ่น เส้นใยวิสโคส เส้นใยพอลิเอสเทอร์ และเส้นใยแก้วซึ่งมีค่าสัมประสิทธ์การลดลงของเสียง (NRC) เป็น 0.22, 0.13, 0.10 และ 0.09 ตามลำดับ พบว่าเส้นใยวิสโคส เส้นใยพอลิเอสเทอร์และเส้นใยแก้วเป็นวัสดุสะท้อน มีค่า NRC น้อยกว่า 0.2 ส่วนเส้นใยนุ่นและเส้นใยพอลิพรอพิลีนเป็นวัสดุดูดซับเสียงที่มีประสิทธิภาพในการดูดซับเสียงปานกลางเป็นผลมาจากโครงสร้างทางกายภาพของเส้นใยแต่ละชนิดทั้งขนาดและพื้นผิวของเส้นใยโดยเส้นใยที่มีขนาดเล็ก และมีลักษณะพื้นผิวของเส้นใยที่ขรุขระ ทำให้มีค่าการต้านทานการไหลของอากาศมาก ค่าสัมประสิทธิ์การดูดซับเสียงจึงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย en_US
dc.description.abstractalternative Noise pollution is a problem that is usually faced in daily life. In the case of exposure to loud noise for a long time, it can affect health. Therefore, various industries have produced "acoustic materials" for reducing noise. In this research, the physical characteristics of materials relating to sound absorption properties were studied. For this study, the physical structures of the materials including size and surface character of fibers were investigated. In order to find a suitable alternative material to be used as acoustic materials. Both natural and synthetic fibers were used to produce sound absorbing sheets using a non-woven fabrics method, which could measure the weight and thickness of the sheets. The samples were studied for 2 sections: sound absorption performance and physical property. In sound absorption performance, samples were measured in the frequency range of 125 - 6300 Hz. For physical property, surface characteristic and size of fiber of the samples were identified. From the results, noise reduction coefficient (NRC) were 0.30, 0.22, 0.13, 0.10 and 0.09 for polypropylene, kapok fibers, viscose fibers, fiber glass and polyester fibers respectively. Therefore, polyester, glass fibers and viscose fibers are categorized as reflective materials (NRC less than 0.2). Moreover, polypropylene, kapok fibers are absorbing materials with moderate sound absorption (NRC between 0.2-0.4) because of their physical property, of size and surface characteristics. From physical property investigation, we can conclude that the fibers with smaller size and rougher surface exhibit more air flow resistance and sound absorption performance accordingly. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การดูดซับเสียง en_US
dc.subject เส้นใยโพลิโพรพิลีน en_US
dc.subject Absorption of sound en_US
dc.subject Polypropylene fibers en_US
dc.title ระบุลักษณะของวัสดุอะคูสติกที่มีผลต่อสมบัติในการดูดซับเสียง en_US
dc.title.alternative Identification of the characteristic of acoustic raw materials with a relation to sound absorption property en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record