dc.contributor.advisor |
ปกรณ์ วรานุศุภากุล |
|
dc.contributor.author |
ธนกร รื่นภาคพจน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-17T06:54:47Z |
|
dc.date.available |
2022-03-17T06:54:47Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78313 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
เทคนิคการสกัดระดับจุลภาคด้วยเจลอิเล็กโทรเมมเบรน ถูกพัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของหลักการ “เคมีสีเขียว” ที่มีจุดมุ่งหมายในการลดการใช้สารเคมีและของเสียที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการใช้สารเคมีหรือวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในงานวิจัยนี้ได้นำเทคนิคดังกล่าวไปใช้ในการสกัดและเพิ่มความเข้มข้นของไอโอดีนในรูปของไอโอเดตก่อนนำไปตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคไอออนโครมาโทกราฟี โดยมีหลักการคือ สารที่สนใจที่มีประจุจะเคลื่อนย้ายจากสารละลายตัวอย่างหรือเฟสให้ไปยังเฟสรับภายใต้แรงขับเคลื่อนศักย์ไฟฟ้า ผ่านตัวกลางที่เป็นเจลเมมเบรนที่ทำจากสารจากธรรมชาติ คือ อะกาโรส ศึกษาสภาวะเหมาะสมที่ให้ประสิทธิภาพในการสกัดสูงสุด ได้แก่ ความเข้มข้นของอะกาโรสเจล 2 เปอร์เซ็นต์โดยมวลต่อปริมาตร, ความหนาของอะกาโรสเจล 7 มิลลิเมตร, พีเอชของอะกาโรสเจลเท่ากับ 7, พีเอชของสารละลายตัวให้เท่ากับ 7, พีเอชของสารละลายตัวรับเท่ากับ 7 และศักย์ไฟฟ้าที่ให้ 50 โวลต์ ทำการศึกษาแต่ละปัจจัยที่ระยะเวลาในการสกัด 10 นาที พิจารณาประสิทธิภาพการสกัดจากค่าสัญญาณพื้นที่ใต้พีคของไอโอเดตที่ได้จากการทดลอง 3 ซ้ำ เทคนิคที่ถูกพัฒนาขึ้นสามารถสกัดไอโอเดตได้ให้ค่าเปอร์เซ็นต์ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์น้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับความเที่ยงปานกลาง เทคนิคการสกัดนี้เป็นเทคนิคที่ง่าย รวดเร็ว และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Gel electromembrane extraction (Gel-EME) was developed based on the principle of “green chemistry” which aimed to reduce the use of chemicals and the release of waste affecting environment, in addition to utilizing the environment friendly chemicals or materials. In this research, the proposed technique was applied in order to extract and increase the concentration of iodine in the form of iodate before analyzing by ion chromatography. The principle of proposed method is that the charged analytes of interest would transfer from the sample solution or donor phase to acceptor phase under the electrical driving forces through mediated-gel membrane. This gel membrane is made from agarose. The appropriate conditions giving the highest extraction efficiency were 2% (w/v) of agarose gel, 7 mm of agarose gel thickness, pH 7 of agarose gel, pH 7 of donor solution, pH 7 of acceptor solution, and 50 volts of applied voltage. All factors were studied at 10 min of extraction time. Extraction efficiency was considered from the signal of iodate peak area with 3 replicates. This proposed technique can extract iodate and give the percentages of relative standard deviation less than 20% which is in moderate precision level. This extraction technique is simple, fast, and eco-friendly. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไอโอดีน -- การวิเคราะห์ |
en_US |
dc.subject |
Iodine -- Analysis |
en_US |
dc.title |
การสกัดระดับจุลภาคด้วยเจลอิเล็กโทรเมมเบรน สำหรับการหาปริมาณไอโอดีนด้วยเทคนิคไอออนโครมาโทกราฟี |
en_US |
dc.title.alternative |
Gel electromembrane microextraction for determination of iodine by ion chromatography |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |