dc.contributor.advisor |
วรวรรณ พันธุมนาวิน |
|
dc.contributor.author |
ศตวัฒน์ งามพัตราพันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-25T02:48:53Z |
|
dc.date.available |
2022-03-25T02:48:53Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78329 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
พอร์ไฟรินเป็นสารประกอบอะโรมาติกชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยวงแหวนขนาดใหญ่ที่มีสมบัติที่ดีทั้งสมบัติทางกายภาพและเคมี ในการพัฒนาสมบัติโดยรวมของพอร์ไฟรินนั้นสามารถทำได้โดยการต่อขยายระบบไพคอนจูเกต โดยเลือกใช้หมู่เชื่อมต่อเป็นหมู่แอลไคน์ ทำให้วงพอร์ไฟรินสามารถเกิดคอนจูเกชันกับกับแอลไคน์ได้ดี ทำให้พอร์ไฟรินนั้นมีสมบัติทางเคมีไฟฟ้าที่ดีขึ้น ในงานวิจัยนี้ สามารถสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนของพอร์ไฟรินที่เชื่อมต่อกับหมู่แอลไคน์ Zn-(DMAPE)2DMP ได้จากปฏิกิริยา Sonogashira coupling ของสารประกอบเชิงซ้อนพอร์ไฟริน (Zn-DMP) กับ แอลไคน์โมเลกุล (DMAPE) โดยมีผลได้ร้อยละเท่ากับ 21 สามารถสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนพอร์ไฟริน (Zn-DMP) ได้จากการทำปฏิกิริยาควบแน่นของ dipyrromethane และ mesitaldehyde ตามด้วยปฏิกิริยา metalation ของพอร์ไฟรินกับ Zn²⁺ และ Mn²⁺ อีกทั้งสามารถสังเคราะห์แอลไคน์ได้จาก trimethylsilylacetylene กับ 4-bromo-N,N-dimethylaniline ศึกษาสมบัติทางเคมีไฟฟ้าของพอร์ไฟรินที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมทรี พบว่าพอร์ไฟรินอิสระ (DMP) สามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ 2 ขั้นตอน และเกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ผันกลับได้ 2 ขั้นตอน Zn-DMP นั้นสามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ง่ายเมื่อเทียบกับพอร์ไฟรินอิสระ (DMP) ในขณะที่ Mn-DMP สามารถเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ 2 ขั้นตอน ผ่านการรับอิเล็กตรอนของไอออนโลหะอะตอมกลาง และ การรับอิเล็กตรอนของวงพอร์ไฟริน Zn-(DMAPE)2DMP นั้น ไม่แสดงสัญญาณการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือรีดักชันในเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมทรี ซึ่งจำเป็นต้องมีการสังเคราะห์และศึกษาสมบัติทางเคมีไฟฟ้าของอนุพันธ์ของสารประกอบเชิงซ้อนของพอร์ไฟรินที่เชื่อมต่อกับหมู่แอลไคน์อื่น ๆ เพิ่มเติมต่อไป |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Porphyrin is macrocyclic aromatic compound which has great chemical and physical properties. The extension of the π-conjugation system is a predominant method to enhance properties of porphyrin. Using an alkyne as a linker result in the strong conjugation of porphyrin and linker which provided better chemical reactivity and electrochemical properties. An alkyne-linked porphyrin complex (Zn-(DMAPE)₂DMP) was synthesized through Sonogashira coupling reaction of porphyrin building block (Zn-DMP) and aryl substituent alkyne (DMAPE). in moderate yield (21%). building block porphyrins were synthesized by condensation of dipyrromethene and mesitaldehyde and subsequence metallation with Zn²⁺ and Mn²⁺. An aryl substituent alkyne was synthesized through step-wise synthesis from trimethylsilylacetylene and 4-bromo-N,N-dimethylaniline. The electrochemical properties of all porphyrin products were investigated by cyclic voltammetry. A free-base porphyrin (DMP) was undergo two steps oxidation and two steps reversible reduction. In addition, a zinc porphyrin complex result in easily oxidized relate to DMP while the Mn-DMP could be reduced in two step which are reduction of center metal ion and porphyrin ring. However, Zn-(DMAPE)₂DMP didn’t show any oxidation or reduction response to a cyclic voltammetry. In future, derivatives of alkyne-linked porphyrin complex should be synthesized and could be investigated properly |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สารประกอบเชิงซ้อน -- การสังเคราะห์ |
en_US |
dc.subject |
พอร์พัยริน |
en_US |
dc.subject |
Complex compounds -- Synthesis |
en_US |
dc.subject |
Porphyrins |
en_US |
dc.title |
การสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนพอร์ไฟรินที่เชื่อมต่อด้วยแอลไคน์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Synthesis of Alkyne-Linked Porphyrin Complexes |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |