dc.contributor.advisor |
สันติ ภัยหลบลี้ |
|
dc.contributor.author |
สิริฏฐา บรรณรน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-11T07:18:28Z |
|
dc.date.available |
2022-04-11T07:18:28Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78368 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
จากการพบหลักฐานโบราณวัตถุแหล่งโลหกรรมสมัยโบราณ ซึ่งแสดงถึงร่องรอยการผลิตเหล็กของแหล่ง โบราณคดีบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่แหล่งเตาถลุงเหล็กบ้านสายโท 7 และบ้านเขาดินใต้ ซึ่ง ถูกสันนิษฐานว่ามีอายุร่วมสมัยกับแหล่งผลิตเครื่องถ้วยวัฒนธรรมขอมในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15-18 โดยโครงงานนี้เป็น การศึกษาหาอายุของเตาถลุงเหล็กและตะกรันเหล็กบ้านสายโท 7 ด้วยวิธีเรืองแสง หลักการในการหาอายุด้วยวิธีเรือง แสงนั้น ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของอิเล็กตรอนที่สะสมตัวในหลุมกักเก็บอิเล็กตรอนของโครงสร้างผลึกของแร่ หรือ Equivalence dose (ED) กับอัตราการแผ่รังสีต่อปีของธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติ หรือ Annual dose (AD) ซึ่งการหาอายุด้วยวิธีเรืองแสงมีประสิทธิภาพสามารถประยุกต์ใช้กับการหาอายุจาพวกวัสดุทางโบราณคดี วัสดุทาง ธรณีวิทยา และตะกรันของโลหะได้ จากการทดลองวัดค่าสัญญาณ OSL ของตัวอย่างตะกรันเหล็ก พบว่ามีสัญญาณ เพียงเล็กน้อยและในบางตัวอย่างไม่แสดงผลสัญญาณ ทั้งนี้อาจจะเกิดจากความซับซ้อนของแร่องค์ประกอบและ สัดส่วนของแร่ควอตซ์ที่มีปริมาณน้อยในตัวอย่างตะกรันเหล็กเมื่อเทียบกับแร่องค์ประกอบชนิดอื่น ทาให้ค่า ED ที่ได้ จากตัวอย่างของตะกรันเหล็กมีค่าการกระจายตัวค่อนข้างมาก จึงไม่สามารถนามาคานวณหาอายุได้ ส่วนผลวิเคราะห์ อายุที่ได้จากตัวอย่างเตาเผา พบว่ามีอายุที่แก่กว่าข้อมูลอายุที่ใช้ในการอ้างอิงและข้อมูลในเชิงประวัติศาสตร์ของแหล่ง เตาเผาดังกล่าว ซึ่งคาดว่าข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการรีเซ็ตสัญญาณหลังได้รับพลังงานครั้งสุดท้ายของแร่ควอตซ์ซึ่งการรี เซ็ตสัญญาณที่ไม่สมบูรณ์นั้นจะส่งผลให้อายุที่ได้แก่กว่าอายุที่แท้จริง |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
From findings the archaeometallurgical evidence which represent iron smelting activities at archeological site, Ban Kruad district, Buriram province. Especially at Ban Sai Tho 7 and Ban khao Din Tai iron smelting site where was assumed to be in the same period as the source of Khmer cultural wares during the Buddhist century 15-18. In this study, using luminescence techniques which has potential for dating archaeological material, geological material and metallurgical slag to proof age of iron smelting furnace and iron slags at Ban Sai Toh 7 site. Principle of luminescence dating is using the relationship between Equivalent dose and Annual dose. The OSL measurements, sample of iron slags showed only small and in some cases not display signals maybe because the complex compositions of slags have unpleasant consequences for the OSL measurements and small amount of quartz in slags, so the ED distribution of iron slags not able to be calculated for age. The aging result of the iron smelting furnace is older than the reference dates and historical data. This error might be due to the resetting of the luminescence signal prior to deposition which incomplete resetting will result in an overestimation of the burial age. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
โบราณวัตถุ -- บุรีรัมย์ |
|
dc.subject |
โบราณวัตถุ -- การกำหนดอายุ |
|
dc.subject |
เตาเผา |
|
dc.subject |
Antiques -- Buri Ram |
|
dc.subject |
Antiques -- Age determination |
|
dc.subject |
Kilns |
|
dc.title |
การหาอายุของเตาเผาโบราณด้วยวิธีเรืองแสง จังหวัดบุรีรัมย์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Luminescence dating of ancient kilns in Buriram province |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |