dc.contributor.advisor |
สันติ ภัยหลบลี้ |
|
dc.contributor.author |
วริศรา โพธิ์สวัสดิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-20T06:42:24Z |
|
dc.date.available |
2022-04-20T06:42:24Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78406 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ภูเขาไฟมีพลังยังคงปรากฏเป็นจำนวนมากในเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ส่วนมากเป็นภูเขาไฟสลับ ชั้นซึ่งก่อให้เกิดการปะทุที่รุนแรง เกิดภัยพิบัติเศษหินและดินไหลหลากบนภูเขาไฟและสร้างความเสียหายเป็น อย่างมาก ดังนั้น งานวิจัยชิ้นนี้จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ถึงลักษณะภูมิลักษณ์ของภูเขาไฟมีพลัง โดย อาศัยดัชนีทางธรณีสัณฐานมาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งหมด 6 ดัชนีได้แก่ ความลาดชัน ความโค้งทั่วไป ความราบ ของก้นหุบเขาหลายชั้น ดัชนีความชุ่มชื้นภูมิประเทศ การสะสมการไหล และปัจจัยของความยาวลาดชันและ ความสูงชัน ซึ่งวิเคราะห์ในโปรแกรม System for Automated Geoscientific Analyses (SAGA) จากนั้น นำไปสร้างเป็นแผนที่ระดับความเปราะบางของเกิดภัยพิบัติเศษหินและดินไหลหลากบนภูเขาไฟ เพื่อดูความ เปราะบางของพื้นที่บริเวณรอบภูเขาไฟ โดยแบ่งเป็นช่วงระดับความเปราะบางได้ทั้งหมด 5 ช่วง ซึ่งผลปรากฏ ว่าส่วนใหญ่พื้นที่ที่อยู่ในระดับความเปราะบางของเกิดภัยพิบัติเศษหินและดินไหลหลากบนภูเขาไฟสูงและสูง มากเป็นพื้นที่มีความลาดชันต่ำ มีลักษณะภูมิประเทศโค้งเว้าและโค้งนูน ค่าดัชนีความราบของก้นหุบเขาหลาย ระดับมีค่าสูงมาก ค่าดัชนีความชุ่มชื้นของภูมิประเทศมีค่าสูง การสะสมการไหลมีค่าสูง และปัจจัยของความ ลาดชันและความยาวของความลาดชันมีค่าสูง ซึ่งเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับภูมิประเทศจริงบนภาพถ่าย ดาวเทียม ปรากฏว่าส่วนมากเป็นพื้นที่บริเวณที่ราบ ส่วนระดับความเปราะบางที่รองลงมาเป็นหุบเขา และ พื้นที่ที่เป็นสันเขาจะมีความเปราะบางในในการเกิดภัยพิบัติเศษหินและดินไหลหลากน้อยที่สุด |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Many active volcanoes still appear in Java Island, Indonesia. Most of them are Stratovolcanoes which cause a severe eruption, debris flow and earth flow on the volcano that causing great damage. Consequently, the propose of this project is terrain analysis of active volcanoes by using six Geomorphometric indexes ; Slope, General Curvature, Multiresolution Valley Bottom Flatness (MRVBF), Topographic Wetness Index (TWI), Flow Accumulation (FCC) and Slope lenght and Steepness factor (LS-factor) in System for Automated Geoscientific Analyses (SAGA) program. Then created the debris and earth flow susceptibility map for view the susceptibility of the area around volcano. After divided the area into five ranges, founded that high and very high susceptibility is low slope. General curvature is convex and concave. Very high MRVBF, high TWI, high FCC and high LS-factor. And when compared the real landscape with satellite images, these ranges cover in flat area. Valley is the medium susceptibility and ridge is the low susceptibility. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภูเขาไฟ -- อินโดนีเซีย -- เกาะชวา |
en_US |
dc.subject |
ธรณีสัณฐาน -- อินโดนีเซีย -- เกาะชวา |
en_US |
dc.subject |
Volcanoes -- Indonesia -- Java Island |
en_US |
dc.subject |
Landforms -- Indonesia -- Java Island |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์ภูมิประเทศของภูเขาไฟมีพลังในเกาะชวาประเทศอินโดนีเซีย |
en_US |
dc.title.alternative |
Terrain analysis of active volcanoes in Java Island, Indonesia |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |