dc.contributor.advisor |
ธนากร วาสนาเพียรพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ณัชชา ปาลวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
นปภา ทิพอุทัย |
|
dc.contributor.author |
พิชญ์สินี อาทรประชาชิต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-20T09:31:03Z |
|
dc.date.available |
2022-04-20T09:31:03Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78419 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาวัสดุเซรามิกแคลเซียมซิลิเกตความหนาแน่นต่ำที่มีสมบัติเป็นฉนวนความร้อนสำหรับงานก่อสร้างเตาเผา โดยทำการทดลองทั้งหมด 3 สูตร ได้แก่ ขี้เถ้า ทรายบด และปลาสเตอร์ จึงเกิดแนวคิดลดต้นทุนจากการผลิตอิฐทนไฟ โดยใช้แม่แบบปลาสเตอร์ที่เสื่อมสภาพจากโรงงานเซรามิกที่มีหลายหมื่นตันต่อปี มาเป็นวัตถุดิบเริ่มต้นในการผลิตอิฐทนไฟแคลเซียมซิลิเกต และลดการใช้พลังงานในการผลิตโดยการลดอุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยาในการสร้างแคลเซียมซิลิเกตให้สามารถเกิดได้ที่อุณหภูมิต่ำ โดยทำการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของอิฐทนไฟด้วย XRD และทำการคำนวณหาค่าความหนาแน่นของอิฐทนไฟ เพื่อให้ได้อิฐทนไฟที่มีองค์ประกอบของ Tobermolite เป็นหลัก และมีความหนาแน่นต่ำ โดยจากผลการวิจัยพบว่าการขึ้นรูปแบบวิธีที่ 2 ให้ความหนาแน่นที่ต่ำกว่าการขึ้นรูปวิธีที่ 1 เนื่องจากปริมาณน้ำที่ใช้ในการขึ้นรูปมีผลต่อความหนาแน่นของชิ้นงาน การใช้เยื่อกระดาษในปริมาณ 60 กรัม ให้ความหนาแน่นต่ำที่สุด และสูตรขี้เถ้าXXเป็นสูตรที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทั้ง 3 สูตร โดยเป็นสูตรที่สามารถเกิดปฏิกิริยาได้ดีที่สุด มีองค์ประกอบทางเคมีใกล้เคียงกับชิ้นงานมาตรฐาน และมีค่าความหนาแน่นต่ำสุดโดยมีค่าประมาณ 0.230±0.021 g/cm³ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study is to develop the low density calcium silicate materials for refractory application. In which classify 3 mixtures ash, sand and plaster. Therefore, to reduce the cost of refractory production by the deteriorate plaster mold from ceramic industries, as a raw materials to produce the calcium silicate in lower thermal energy. Calcium silicate sample were analyzed the phases composition by X-ray diffraction (XRD) that tobermorite is the main composition and calculated the density by sample size and weight. The study shown that in second attempt has formed lower density than first attempt, because the water content to form the sample has effect on the density. Using 60 g of paper pulp in rice husk ash is the best mixture of all, which has the best reaction between raw materials in milling process, the chemical composition closest to the commercial product and has the lowest density approximately 0.230±0.021 g/cm³. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
วัสดุทนไฟ |
en_US |
dc.subject |
วัสดุเซรามิก |
en_US |
dc.subject |
Refractory materials |
en_US |
dc.subject |
Ceramic materials |
en_US |
dc.title |
การเตรียมวัสดุแคลเซียมซิลิเกตความหนาแน่นต่ำสำหรับงานวัสดุทนไฟ |
en_US |
dc.title.alternative |
Preparation Low Density Calcium Silicate Materials for Refractory Application |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |