dc.contributor.advisor |
ธีรวัฒน์ เสมา |
|
dc.contributor.author |
วรรษวัน เทพอารยางกุล |
|
dc.contributor.author |
อัจจิมา คำพูล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-21T09:46:26Z |
|
dc.date.available |
2022-04-21T09:46:26Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78443 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ปัจจุบันการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นสาเหตุทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ดังนั้นการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จึงมีความสำคัญ กระบวนการการดูดซึมทางเคมี (Chemical Absorption) เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระดับอุตสาหกรรม (เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมิคอล เชื้อเพลิงชีวภาพ) แต่กระบวนการดูดซึมคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ตัวทำละลายเอมีนมีข้อจำกัดด้วยความจุของการดูดซึม (Absorption Capacity) ดังนั้นจึงจำเป็นต้องศึกษาตัวทำละลายเอมีนชนิดใหม่ (N-Methyl-4-Piperidinol หรือ MPDL-Monoethanolamine หรือ MEA) ที่เหมาะสมต่อการดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในแง่ของความจุของการดูดซึมและศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของตัวแปรเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ ความดันย่อยของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และอัตราส่วนความเข้มข้นของตัวทำละลายเอมีนชนิดใหม่ ในการดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยพิจารณาจากความจุของการดูดซึม ผลการทดลองพบว่าที่อุณหภูมิ 40 °C การเพิ่มอัตราส่วนความเข้มข้นของตัวทำละลาย MPDL มีผลทำให้ประสิทธิภาพของการดูดซึมคาร์บอนไดออกไซด์์ในแง่ของความจุของการดูดซึมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ และที่สภาวะความดันย่อยของคาร์บอนไดออกไซด์สูง ระบบจะเข้าสู่สภาวะสมดุลเร็วกว่าที่สภาวะความดันย่อยของคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Recently, the increasing in the release CO₂ lead to Greenhouse effect and impact to environment. Thus, the major concern is reduced carbon dioxide emission. Chemical absorption is one of the most effective technology and this technology can be well applied for many industries (such as energy, petroleum and petrochemical, and bioenergy and biofuels) but CO₂ absorption process by using amine solvents is limited by absorption capacity. The major goals of this research are to investigate the new amine solvents (N-methyl-4-piperidinol or MPDL- Monoethanolamine or MEA) in term of CO₂ absorption capacity and to study the effects of operating parameters such as partial pressure of CO₂ and blend ratio between MEA and MPDL on the CO₂ absorption capacity. The experimental results show that the increasing in blend ratio of MPDL lead to high effective CO₂ absorption in term of absorption capacity at 40 °C and the system at the high partial pressure of CO₂ can be reach to the equilibrium rapidly more than low partial pressure of CO₂. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
คาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ |
en_US |
dc.subject |
เอมีน |
en_US |
dc.subject |
Carbon dioxide -- Absorption and adsorption |
en_US |
dc.subject |
Amines |
en_US |
dc.title |
ความจุของการดูดซึมคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ตัวทำละลายเอมีนชนิดใหม่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Absorption Capacity of CO₂ using New Amine Solvents |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |