dc.contributor.advisor |
ณัฐพล พินทุโยธิน |
|
dc.contributor.author |
สาธิกา อุษณีย์กนก |
|
dc.contributor.author |
ศรสวรรค์ โตรื่น |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-26T04:01:11Z |
|
dc.date.available |
2022-04-26T04:01:11Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78476 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
โดยปกติแล้วโรงงานจะมีน้ำปนเปื้อนปริมาณมาก ดังนั้นระบบบำบัดน้ำปนเปื้อนจึงเป็น กระบวนการที่สำคัญ งานวิจัยนี้พยายามที่จะจำลองกระบวนการที่สามารถแยกสารปนเปื้อนและเป็น กระบวนการที่เหมาะสมเพื่อให้ได้น้ำสะอาด ซึ่งสามารถนำกลับไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลด ค่าใช้จ่ายในกระบวนการ งานวิจัยนี้ใช้โปรแกรม Aspen Plus V.9 ในการจำลองกระบวนการและทำ ให้กระบวนการที่ซับซ้อนง่ายขึ้น น้ำปนเปื้อนมีส่วนประกอบหลักก็คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ แอมโมเนีย และโซเดียมคลอไรด์ปริมาณเล็กน้อย วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือออกแบบกระบวนการทางเลือก เพื่อเปรียบเทียบกับกระบวนการพื้นฐาน โดยออกแบบกระบวนการกำจัดน้ำปนเปื้อนให้เป็นไปตาม ข้อกำหนดความบริสุทธิ์ของน้ำสะอาดหลังจากผ่านการบำบัด โดยความเข้มข้นของไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไม่เกิน 10 ส่วนในล้านส่วน และแอมโมเนียไม่เกิน 100 ส่วนในล้านส่วน ในน้ำสะอาด และ เปรียบเทียบในแง่ของความต้องการของพลังงานทั้งหมดในกระบวนการและทางเศรษฐศาสตร์ จาก งานวิจัยการออกแบบกระบวนการกำจัดน้ำปนเปื้อนแบบบีบอัดไอพร้อมกับแยกอัตราการไหลสามารถ ลดความต้องการของพลังงานทั้งหมดประมาณร้อยละ 35 เมื่อเทียบกับการออกแบบพื้นฐาน และเมื่อ เปรียบเทียบค่าทางเศรษฐศาสตร์แม้ว่าต้นทุนการผลิตแรกเริ่มของการออกแบบกระบวนการกำจัดน้ำ ปนเปื้อนแบบบีบอัดไอพร้อมกับแยกอัตราการไหลมากกว่าการออกแบบพื้นฐาน อย่างไรก็ตาม ค่าใช้จ่ายรายปีทั้งหมดมีค่าลดลงประมาณร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับการออกแบบพื้นฐาน เนื่องจากมี การตัดส่วนของสาธารณูปโภคร้อนและเย็นของสตริปเปอร์โดยใช้การบีบอัดไอแทน จากงานวิจัยค่า ความดันส่วนบนของสตริปเปอร์ที่ 1.9 บาร์ เป็นสภาวะการดำเนินการที่เหมาะสมที่สุด |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
In conventional refineries, there is a significant amount of sour water. Consequently, sour water stripping unit is a very important process. This research attempts to simulate the process, which separates contaminants in sour water and optimizes to get pure water, then recycles to increase efficiency of the process and reduce operating costs. This study uses Aspen Plus to simulate and simplify the complex process. The sour water mainly contains hydrogen sulfide, ammonia, and small quantity of sodium chloride. The purpose of the study to design and simulate alternative case of the sour water stripping to compare with base case design and design to get stripped water that contains no more than 10 ppm of H2S and 100 ppm of NH3 and compare in terms of economics and energy requirement. In this study, vapor compression with split flow design can reduce the energy requirement of the stripping process by 35% compared to the base case design. The economic analysis shows that despite the higher capital cost of the vapor compression with split flow design, total annual cost of vapor compression with split flow design is 70% lower compared to the base case design. due to cutting down the cold and hot utilities and using the compression instead of thermal energy. From the study, pressure of top column is 1.9 bar which the most appropriate condition. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การกำจัดน้ำเสีย |
en_US |
dc.subject |
โรงกลั่นน้ำมัน |
en_US |
dc.subject |
Sewage disposal |
en_US |
dc.subject |
Petroleum refineries |
en_US |
dc.title |
การออกแบบและการจำลองกระบวนการการกำจัดน้ำปนเปื้อนในโรงกลั่นน้ำมันโดยระบบสตริปปิง (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) |
en_US |
dc.title.alternative |
Design and simulation of sour water stripping system in refineries (Computer Program) |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |