DSpace Repository

การออกแบบเครื่องแต่งกายส่วนบนโดยใช้เครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้าง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศศิภา พันธุวดีธร
dc.contributor.advisor ศุภกานต์ พิมลธเรศ
dc.contributor.author นพพล คงสำราญ
dc.contributor.author สิรวิชญ์ จันทร์เด่นดวง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-05-02T02:51:57Z
dc.date.available 2022-05-02T02:51:57Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78498
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract ในปัจจุบันการแข่งขันในวงการแฟชันอย่างรวดเร็วเนื่องจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นของผู้บริโภค แต่ในขั้นตอนการออกแบบจำเป็นต้องใช้เวลานานเพื่อสร้างงานชิ้นใหม่ อีกทั้งไม่กีปีที่ผ่านมามีงานวิจัยหนึ่งที่ได้รับความนิยมได้เสนอการใช้ตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียมสองตัวแบบ มาสร้างเป็นเครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างเพื่อใช้ในการสร้างภาพปลอมขึ้นมาจากชุดข้อมูลภาพที่มีอยู่ การมีตัวแบบเช่นนี้ที่สามารถสร้างภาพจะช่วยลดเวลาที่ใช้ในขั้นตอนออกแบบของนักออกแบบได้ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบเครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างที่สามารถสร้างภาพของเครื่องแต่งกายส่วนบนของผู้ชาย เครื่องแต่งกายส่วนบนของผู้ชายสองประเภทได้แก่เสื้อแขนยาวและเสื้อแขนสั้นได้นำมาศึกษาร่วมกับเครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างสี่ประเภทได้แก่ เครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างแบบมีเงื่อนไข เครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างแบบคอนโวลูชันเชิงลึก เครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างวาซเซอร์สตีน และเครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้างวาซเซอร์สตีนที่เพิ่มค่าปรับตามความชัน จากการทดลองพบว่าเครือข่ายเพื่อการสร้างวาซเซอร์สตีนที่เพิ่มค่าปรับตามความชันสามารถสร้างภาพเครื่องแต่งกายส่วนบนได้ดีที่สุด en_US
dc.description.abstractalternative Presently competition in fashion industry rises dramatically due to rising of customer’s demands; however, designing phase takes too long to make up one task. Also, in past few years there is a popular research, which proposes using two models of neural networks to generate Generative Adversarial Networks for creating a fake image from an existing image data set. Having such model that can generate an image would help designer reduce their time used during designing phase. The purpose of this research is to build a model of Generative Adversarial Networks that can generate an image of male’s top outfit. Two types of male’s top outfit, which are long sleeve shirt and short sleeve shirt, are studied along with four types of Generative adversarial networks, which are Conditional Generative Adversarial Networks, Deep Convolutional Generative Adversarial Networks, Wasserstein Generative Adversarial Networks and Wasserstein Generative Adversarial Networks with gradient penalty. From experiments, the best model is Wasserstein Generative Adversarial Networks with gradient penalty which can generate a new top outfit image. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การออกแบบเครื่องแต่งกาย en_US
dc.subject นิวรัลเน็ตเวิร์ค (วิทยาการคอมพิวเตอร์) en_US
dc.subject Costume design en_US
dc.subject Neural networks (Computer science) en_US
dc.title การออกแบบเครื่องแต่งกายส่วนบนโดยใช้เครือข่ายความขัดแย้งเพื่อการสร้าง en_US
dc.title.alternative Top Outfit Design using Generative Adversarial Networks en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record