dc.contributor.advisor |
บุญโชติ เผ่าสวัสดิ์ยรรยง |
|
dc.contributor.author |
กัญญมน ไทยกูล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-10T02:39:48Z |
|
dc.date.available |
2022-05-10T02:39:48Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78562 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
กระบวนการอิเล็กโตรสปินนั้น เป็นกระบวนการที่ใช้แรงทางไฟฟ้าในการผลิตเส้นใยที่มีขนาดเส้นใยที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางแต่ระดับนาโนเมตรไปจนถึงไมโครเมตรจากสารละลายพอลิเมอร์ ในโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำกระบวนการอิเล็กโตรสปินไปใช้ในการผลิตแผ่นยาปิดแผลเพื่อช่วยสมานแผล โดยใช้ตัวยานีโอมันซิน ซัลเฟต (Neomycin Sulphate) เนื่องจากเป็นยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย โดยพอลิเมอร์ที่ใช้นั้น คือ พอลิแลคติกแอซิด (Polylactic Acid) ซึ่งเป็น polymer ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable Polymer) และปรับสภาพผิวด้วยพลาสมา (Plasma Treatment) ด้วยแก๊สอาร์กอน มาใช้ในการปรับสภาพผิวสัมผัสของแผ่นเส้นใยให้มีความชอบน้ำมากขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อการปลดปล่อยตัวยาที่ใช้สำหรับแผลภายนอก พร้อมทั้งศึกษาประสิทธิภาพในการปล่อยตัวยาของแผ่นเส้นใยที่ได้ พบว่าเส้นใยพอลิแลคติกแอซิดนั้นมีการปลดปล่อยตัวยานีโอมัยซินซัลเฟตออกมาทั้งหมดภายในเวลา 30 นาที และเมื่อนำแผ่นเส้นใยไปปรับสภาพผิวด้วยพลาสมาอาร์กอนนั้น พบว่าผิวของเส้นใยมีความชอบน้ำมากขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Electrospinning is the process that use the electrostatic force to produce fibers which has diameter from nanometer to micrometer from the polymer solution. This project has used electrospinning in order to produce the wound dressing nanofiber that contains neomycin sulphate which is an antibiotic substance. The polymer that has been used is polylactic acid (PLA) which is a biodegradable polymer and use the argon-plasma treatment to modify the wettability of the surface of nanofiber. As the result, Neomycin incorporated PLA fibers exhibited a burst release profile. The fiber surface become more hydrophilic after the argonplasma treatment. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เส้นใยนาโน |
en_US |
dc.subject |
การปั่นด้ายด้วยไฟฟ้าสถิต |
en_US |
dc.subject |
Nanofibers |
en_US |
dc.subject |
Electrospinning |
en_US |
dc.title |
การศึกษาคุณลักษณะ และสมบัติเฉพาะด้านของเส้นใยนาโนซึ่งสังเคราะห์ด้วยกระบวนการอิเล็กโตรสปิน |
en_US |
dc.title.alternative |
Synthesis and Characterization of Functional Electro-Spinning Nano Fiber |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |