dc.contributor.advisor |
ชฏิล กุลสิงห์ |
|
dc.contributor.author |
ธัญธร เดชธราดล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-11T07:15:06Z |
|
dc.date.available |
2022-05-11T07:15:06Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78571 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธี electrolysis โดยใช้ขั้วสปริงมาต่อยอดโดยการ ให้กระแสไฟฟ้ากับน้ำมันรถยนต์ เพื่อใช้ ในการศึกษาการเกิด oxidation/reduction ของน้ำมันแก๊สโซฮอล91 ที่มีความนิยมใช้เติมใน ปั๊มน้ำมันกันอย่างกว้างขวางที่ผู้ทดลองเลือกมาเป็นตัวอย่างศึกษา ตัวอย่างน้ำมันก่อนและหลังจากทำการให้ ความต่างศักย์ ที่ 5 V เป็นเวลา 2 นาที จะถูกนำมาทดสอบด้วยเทคนิค Gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) เพื่อดูว่ามีความเปลี่ยนแปลงของสารเคมีระเหยง่าย ซึ่งจากโครมาโทแกรมที่ได้พบว่าสารเคมีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนหลังทำ electrolysis วิธีทางไฟฟ้าเคมีที่ใช้นี้จีงน่าจะสามารถนำมาเร่งการเปลี่ยนแปลง ของน้ำมันได้อย่างรวดเร็วและประหยัดพลังกว่าวิธีทั่วไปที่ใช้ในการศึกษาความเสถียรของน้ำมันซึ่งอาจใช้ เวลานานหลายชั่วโมง ทั้งนี้ทางผู้ทดลองหวังว่าการทดลองนี้จะสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดได้ ในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research developed electrolysis approach with spring electrodes applying electrical current in fuel in order to study the oxidation/reduction reaction of gasohol-91. Gasohol-91 was selected as the example for investigation due to its popularity in the fuel market. Volatile compound profiles of the samples before and after electrolysis reaction at 5 V for 2 minutes were separated and analyzed by gas chromatography-mass spectrometry (GCMS) technique. The GC-MS results showed clearly different profile after the electrolysis treatment. This may indicate the developed approach with potential application for rapid and low cost testing of fuel stability compared with the conventional analysis approach requiring several hours. With further development, this may be useful in the future. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
น้ำมันและไขมัน -- การแยกสลายด้วยไฟฟ้า |
en_US |
dc.subject |
แกสโครมาโตกราฟี |
en_US |
dc.subject |
แมสสเปกโทรเมตรี |
en_US |
dc.subject |
Oils and fats -- Electrolysis |
en_US |
dc.subject |
Gas chromatography |
en_US |
dc.subject |
Mass spectrometry |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ของน้ำมันที่ผ่านกระบวนอิเล็กโทรไลซิสสองสถานะด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโตกราฟี-แมสสเปกโตรเมตรี |
en_US |
dc.title.alternative |
Two-phase electrolysis of fuel and analysis of the products with gas chromatographymass spectrometry |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |