dc.contributor.advisor | เสาวรักษ์ เฟื่องสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | ทักษิณา มาลี | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-05-11T07:49:27Z | |
dc.date.available | 2022-05-11T07:49:27Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78572 | |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิเคราะห์ปริมาณเอทานอลในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนส่วนประกอบเพื่อสุขอนามัย ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี ที่มีการตรวจวัดแบบเฟลมไอออไนเซชัน พบว่าภาวะที่เหมาะสมในการแยกเมทานอล เอทานอล โพรพาน-2-ออล และอะซิโตไซไตรล์ คือ การใช้แคปิลารีคอลัมน์ชนิด DB -624UI ที่มีเฟสคงที่เป็น 6% cyanopropyl-phenyl และ 94% dimethyl polysiloxane ยาว 30 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.32 มิลลิเมตร ความหนาของฟิล์มเฟสคงที่ 1.8 ไมโครเมตร ฉีดสารละลายมาตรฐานผสมร้อยละ 1 โดยปริมาตร ปริมาตร 1 ไมโครลิตร โดยใช้ split ratio เท่ากับ 20:1 inlet temperature 250 องศาเซลเซียส อัตราการไหลของแก๊สพาเท่ากับ 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที อุณหภูมิของคอลัมน์ 50 องศาเซลเซียส (คงที่นาน 5 นาที) จนถึง 230 องศาเซลเซียส (คงที่นาน 4 นาที) ด้วยอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสต่อนาที และอุณหภูมิของตัวตรวจวัดมีค่าเท่ากับ 280 องศาเซลเซียส พบว่าพีกของเมทานอล เอทานอล โพรพาน-2-ออลและอะซิโตรไนไตรล์ แยกออกจากกันได้อย่งสมบูรณ์ มีค่า resolution ® ไม่น้อยกว่า 1.5 การทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ พบว่าค่า correlation coefficient, r มกกว่า 0.99 และการวิเคราะห์แอลกอฮอล์ ในผลิตภัณฑ์มีทำความสะอาดมือที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบเพื่อสุขอนามัยพบว่า ความแม่นและความเที่ยงตาม AOAC อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ โดยร้อยละการกลับคืนมีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 95-105 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพันธ์ (%RSD) ≤ 3.7% ซึ่งแสดงให้เห็นว่าวิธีวิเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นนี้ เหมาะสมกับการสร้างคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อทดสอบชนิดและหาปริมาณของแอลกอฮอล์ที่พบทั่วไปในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบเพื่อสุขอนามัยได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to determine the content of ethanol in alcohol- based hand sanitizers by gas chromatography with flame ionization detection. The optimal conditions that gave the best separation of methanol, ethanol, propan-2-ol and acetonitrile from a mixture of 1%v/v each were as follows: DB -624UI capillary column using 6% cyanopropyl-phenyl and 94% dimethyl polysiloxane as stationary phase with 30m length x 0.32 mm ID × 1.8 μm film thickness, injection volume of 1μL, split ratio of 20:1, inlet temperature 250 °C, column flow at 1.5 mL/min, oven temperature 50 °C (hold 5 min) to 230 °C (hold 4 min) with increasing rate at 25°C/min, and detector temperature of 280°C. A complete separation of the compounds of interest was obtained with resolution (Rs) of at least 1.5. Method validations using external standard solution, matrix standard solution, and internal standard were satisfactory with correlation coefficient, r > 0.99. Application of the analysis method on real samples was successful with %recovery of 95-105% and relative standard deviation (%RSD)≤ 3%, corresponding to accuracy and precision within the acceptable range according to AOAC. This proved that the developed method, leading to a standard operation procedure (SOP), could be used to identify the type and determine the amount of alcohols commonly found in alcohol-based hand sanitizers. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เอทานอล | en_US |
dc.subject | แกสโครมาโตกราฟี | en_US |
dc.subject | Ethanol | en_US |
dc.subject | Gas chromatography | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ปริมาณเอทานอลในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบ เพื่อสุขอนามัยด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี | en_US |
dc.title.alternative | Determination of ethanol content in alcohol- based hand sanitizers by gas chromatography | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |