DSpace Repository

ปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเกษียณอายุของนิสิตหอพัก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภัทรสินี ภัทรโกศล
dc.contributor.author พัศชัย อินทรกำแหง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-05-12T03:39:30Z
dc.date.available 2022-05-12T03:39:30Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78587
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนเกษียณอายุของนิสิตระดับปริญญาตรีหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 101 คน โดยใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแบบพรรณนาและแบบอนุมาน คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนการเกษียณอายุของนิสิตหอพักจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า พื้นฐานทางเศรษฐกิจของครอบครัวของนิสิตมีผลต่อความคิดเห็นด้านการใช้ชีวิตครอบครัวหลังเกษียณอายุ รวมถึงพฤติกรรมในการออม ความสามารถในการบริหารเงินในปัจจุบันสามารถสะท้อนให้เห็นการวางแผนการในการเกษียณอายุของนิสิตได้อีกด้วย นอกจากนี้แล้วภูมิลำเนาดั้งเดิมของนิสิตยังสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความตระหนักต่อสภาพทางเศรษฐกิจและสงครามทางการค้าได้แตกต่างกันอีกด้วย หากพิจารณาหางานอดิเรกที่ต้องการทำภายหลังการเกษียณอายุพบว่าความสนใจที่จะทำในเพศหญิงและเพศชายมีความแตกต่างกัน en_US
dc.description.abstractalternative This project has an aim to study factors that influence to the retirement planning of undergraduate students at Chulalongkorn Dormitory units; the sample size is 101 persons. The data collection tool is the questionnaire while statistical analysis methods, both descriptive and inferential, are used to analyze data. These methods are frequency counting, percentages, mean, standard variation, and Chi-Square. The results from studying the influence factors of the samples found that the economic background of students has impact towards their concept of family life after retirement. This also includes the saving behavior and financial manageability that can also reflex the retirement planning of students. Besides, the location of student’s hometown also reflects differently in the economical realizability and tread-war. Moreover, the study also indicates that different genders have dissimilar interest in the hobby after their retirement. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การเกษียณอายุ en_US
dc.subject Retirement en_US
dc.title ปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเกษียณอายุของนิสิตหอพัก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title.alternative Factors towards the retirement plan of bachelor students in the Chulalongkorn dormitories en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record