dc.contributor.advisor |
นรวีร์ กาญจนวดี |
|
dc.contributor.advisor |
สตรีรัตน์ โฮดัค |
|
dc.contributor.author |
ธนาวุฒิ เมธารินทร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-18T03:00:50Z |
|
dc.date.available |
2022-05-18T03:00:50Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78613 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
แบเรียมไททาเนตเป็นสารที่มีสมบัติเฟร์โรอิเล็กทริก (ferroelectric) ซึ่งเป็นที่นิยมในการศึกษาสำหรับการนำไปใช้พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ เช่น หน่วยความจำสี่สถานะ โดยการสร้างให้มีสมบัติเฟร์โรแมกเนติก (ferromagnetic) โดยการเจือด้วยธาตุโลหะทรานซิชัน สำหรับโครงงานนี้ได้ศึกษาผลของการเจือด้วยเหล็กที่แทนที่ในตำแหน่งไทเทเนียม (BaTi₁-xFexO₃) ด้วยความเข้มข้นต่าง ๆ (x = 0.05, 0.10, 0.20 และ 0.40) โดยการสังเคราะห์ด้วยวิธีการตกตะกอนของสารละลาย (sol-precipitation method) และอบที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ที่มีต่อโครงสร้างผลึกและสมบัติทางแม่เหล็ก โดยการอบแบเรียมไททาเนตเจือด้วยเหล็กที่อุณหภูมิต่ำจะทำให้มีโอกาสมีโครงสร้างแบบคิวบิกและเตตระโกนอล ซึ่งตรวจสอบโครงสร้างผลึกเครื่องเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (x-ray diffraction) และเทคนิครามานสเปกโทรสโคปี (Raman spectroscopy) และวัดสมบัติทางแม่เหล็กด้วยเครื่องแมกนีโทมิเตอร์แบบตัวอย่างสั่น (vibrating sample magnetometer, VSM) ซึ่งผลการวิเคราะห์โครงสร้างผลึกที่ได้พบว่าค่าแลตทิซพารามิเตอร์ a,c และปริมาตรของหน่วยเซลล์มีค่ามากขึ้นตามปริมาณของเหล็กที่เจือ ในขณะที่ขนาดของผลึก (crystallite size) และความเป็นเตตระโกนอล (tetragonality) กลับมีค่าน้อยลงเมื่อเจอด้วยด้วยเหล็กที่มีความเข้มข้นสูง และการวัดสมบัติแม่เหล็กพบว่าสารแบเรียมไททาเนตเจือด้วยเหล็กที่ทุกความเข้มข้นที่อบด้วยอุณหภูมิ 400 °C แสดงสมบัติพาราแมกเนติก โดยที่การเพิ่มเข้มข้นของเหล็กจะทำให้สารมีค่าความไวต่อสภาพแม่เหล็ก (magnetic susceptibility) ที่สูงขึ้น แต่ค่าความไวต่อสภาพแม่เหล็กของไอออนของเหล็กจะลดลง |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Barium titanate is a well-known ferroelectric material that used in new technology developing, such as four-state memory by doping transition metals to induce ferromagnetism. In this study, we studied the effects of doping iron the titanium site of barium titanate (BaTi₁-xFexO₃) With Fe concentrations (x) 0.05, 0.10, 0.20 and 0.40 by sol-precipitation method andannealed at 400 °C on crystal structure and magnetic properties. Fe-doped BaTiO₃ annealed atlow temperature can adop cubic and tetragonal phases. Thus, we characterized the crytalstructure by x-ray diffraction (XRD) and Raman spectroscopy, and investigate magnetic properties by vibrating sample magnetometer (VSM). It was found that as the Fe doping concentrationincreases, the lattice parameters and the unit cell volume rise, while the crystallite size and tetragonality fall. Interestingly, our samples exhibit paramagnetic behavior, regardless of crystalstructure or Fe concentration. The molar magnetic susceptibility (Xm) of Fe-doped BaTiO₃ increases with Fe concentration, while magnetic susceptibility per Fe ion (Xfe) decreases. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เฟอร์โรอิเล็กทริกคริสตัล |
en_US |
dc.subject |
สารประกอบแบเรียม |
en_US |
dc.subject |
Ferroelectric crystals |
en_US |
dc.subject |
Barium compounds |
en_US |
dc.title |
โครงสร้างและความเป็นแม่เหล็กของแบเรียมไททาเนตเจือด้วยเหล็กและอบที่อุณหภูมิต่ำ |
en_US |
dc.title.alternative |
Structures and magnetic properties of low-temperature annealed Fe-doped BaTiO₃ |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |