dc.contributor.advisor |
จุฬพงษ์ พานิชเกรียงไกร |
|
dc.contributor.advisor |
สุจิตรา สื่อประสาร |
|
dc.contributor.author |
สิรภัทร ทิตาสิริมณีรดา |
|
dc.contributor.author |
ปุณณดา วิเศษสิงห์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-01T02:04:22Z |
|
dc.date.available |
2022-06-01T02:04:22Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78681 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงการนี้วิเคราะห์ความสามารถในการผลิตสีของเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์วัตถุ 3 มิติ ร่วมกับการพิมพ์สีระบบอิงก์เจ็ตบนพื้นผิวของวัตถุ และศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงความหนาต่อสีที่พิมพ์ ได้ โดยทำการทดลองสร้างแผ่นตัวอย่างสี 2 รูปแบบ ได้แก่ Texture และ Surface เพื่อเลือกรูปแบบในการ พิมพ์ ซึ่งการทดลองเลือกพิมพ์รูปแบบพิมพ์พื้นผิวด้านบน (Surface) จากนั้นสร้างแผ่นตัวอย่างสี 49 ช่อง กำหนดความหนาของสิ่งพิมพ์ต่างกัน 5 ขนาด คือ 1 มม., 2 มม., 4 มม., 8 มม. และ 16 มม. แต่ละช่องมีสี ต่างกัน เพื่อศึกษาอิทธิพลของความหนาต่อสีที่พิมพ์ได้ และทดสอบพิมพ์ 125 ช่อง ที่ความหนาเดียว โดย กำหนดความหนาสิ่งพิมพ์ที่ 4 มม. ซึ่งสีในแต่ละช่องได้จากการแบง่ สัญญาณของแม่สี RGB จาก 0 ถึง 255 ออกเป็น 5 ช่วงเท่า ๆ กัน ทำให้ได้จำนวนสี 125 สี ที่แตกต่างกัน วัดค่าสี L*a*b* ของสิ่งพิมพ์แต่ละชิ้นภายใต้ สภาวะ D65/2° นำค่าสีที่วัดได้จากแผ่นตัวอย่างสี 49 ช่อง มาวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าสีระหว่างสิ่งพิมพ์ทุก ความหนากับต้นฉบับ (sRGB) และนำค่าสีที่วัดได้จากแผ่นตัวอย่างสี 125 สี มาวิเคราะห์การกระจายตัวของค่า สีระหว่างสิ่งพิมพ์กับต้นฉบับ (sRGB) จากการทดลองพบว่า ความหนาไม่มีผลชัดเจนต่อการพิมพ์สีของสิ่งพิมพ์ นอกจากนี้ขอบเขตสีที่หมึกพิมพ์ได้และสูตรการคำนวณสัดส่วนหมึกพิมพ์ของเครื่องพิมพ์มีผลต่อการพิมพ์สีของเครื่องพิมพ์ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This project aims to analyze color production process of a 3D printer with 3D printing technology, together with inkjet color printing on the surface of objects. The effect of thickness on printed colors is also studied. Two patterns (Texture and Surface) of color charts were printed to determine the print format to be used in the experiments. The Surface pattern was selected. A 49-color chart was printed with 5 different thicknesses: 1, 2, 4, 8 and 16 mm, where each square had a different color. It was created to study the influence of thickness on printed colors. A test chart of 125 squares with the thickness of 4 mm was created. The colors in each square were generated by dividing the RGB values (from 0 to 255) into 5 equal intervals, and all possible combinations of these values resulted in a total of 125 different colors. The printed color charts were measured in terms of L*a*b* (D65/2°) values. The measured values were compared to the originals (converted from sRGB). The 49-color chart was used to analyze the effect of thickness. The distributions of 125 colors were compared between the prints (measured values) and the originals (converted from sRGB). It was found that thickness had no obvious effect on the printed colors. In addition, the color ranges generated by the printing inks and the calculations of the printing ink proportions affected the colors printed with the 3D printer. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การพิมพ์สามมิติ |
en_US |
dc.subject |
การพิมพ์สี |
en_US |
dc.subject |
Three-dimensional printing |
en_US |
dc.subject |
Color printing |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์กระบวนการผลิตสีของเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ระบบเอฟดีเอ็ม |
en_US |
dc.title.alternative |
Analysis of Color Production Process of FDM Full-Color 3D Printer |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |