dc.contributor.advisor |
สุจิตรา สื่อประสาร |
|
dc.contributor.author |
ป่านแก้ว ดั่งวิริยะกุล |
|
dc.contributor.author |
วิชญาพร วงศ์ษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-01T02:14:27Z |
|
dc.date.available |
2022-06-01T02:14:27Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78682 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงการนี้วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างชื่อสีลิปสติกกับสีลิปสติกของกลุ่มผู้สังเกตกับสีจริงของ ลิปสติก ทำการทดลองกับผู้สังเกต 40 คน เป็นผู้ชาย 10 คน และผู้หญิง 30 คน โดยแบ่งชื่อสีเป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดผลไม้ (Cherry และ Watermelon) หมวดดอกไม้ (Rose และ Poppy) หมวดขนมหวาน (Red Velvet) และหมวดอัญมณี (Ruby) ทำการทดลองภายใต้สภาวะห้องมืด และควบคุมแสงของหน้าจอ ผู้สังเกต ดูชื่อสีที่แสดงบนจอภาพทีละชื่อ และกดเลือกสีจากเครื่องมือเลือกสี (Color Picker tool) เพื่อแสดงสีที่ ต้องการ กดบันทึกค่าสี และทำซ้ำจนครบ 6 ชื่อ วัดค่าสีหน้าจอด้วยเครื่องสเปกโทรเรดิโอมิเตอร์ และหา ลักษณะเฉพาะของหน้าจอเพื่อแปลงค่าสีด้วย GOG model นำค่าสี RGB ของผู้สังเกตมาแปลงค่าเป็นค่าสีใน ระบบ CIELAB และวัดค่าสีจริงของตัวอย่างลิปสติกด้วยเครื่องสเปกโทรเรดิโอมิเตอร์ จากนั้นแบ่งกลุ่มผู้สังเกต จากประสบการณ์การใช้ลิปสติกเป็นสามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้สังเกตที่ไม่เคยใช้ลิปสติก กลุ่มผู้สังเกตที่เคยใช้ ลิปสติกชื่อสีที่กำหนด และกลุ่มผู้สังเกตที่เคยใช้ลิปสติกชื่อสีอื่น จากผลการทดลองพบว่า ประสบการณ์การใช้ ลิปสติกมีผลต่อการเชื่อมโยงชื่อสีของลิปสติกและสีของลิปสติก ผู้สังเกตคาดหวังสีที่ความอิ่มตัวสี และความ สว่างมากกว่าสีของลิปสติกจริง รวมถึงชื่อสีลิปสติกในหมวดดอกไม้มีสีที่ผู้สังเกตคาดหวังครอบคลุมสีสัน ความ อิ่มตัวสี และความสว่างของสีในช่วงกว้างกว่าหมวดอื่น และชื่อสีลิปสติกในหมวดเดียวกันมีแนวโน้มของสีที่ คาดหวังของแต่ละชื่อที่ต่างกันได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This project analyzed associations of lipstick colour names with lipstick colours. Forty observers, 10 males and 30 females, participated in the experiments. Lipstick colour names were divided into four groups: Fruit (Cherry and Watermelon), Flower (Rose and Poppy), Dessert (Red Velvet) and Gems (Ruby). The experiments were done in a darkened room and with a brightness-controlled monitor. Lipstick names were displayed on a monitor one at a time. Observers chose a colour associated with the given name from Color Picker tool, saved and repeated the same procedure until all six names were completed. The monitor was characterized using the GOG model, so that the RGB values could be converted to CIELAB colour values. Colour measurements of the monitor and lipstick samples were done using a spectroradiometer. Based on observers’ experience, observers were divided into three groups: those who never used lipsticks, those who used lipsticks with the particular name and those who used lipsticks with other names. The results showed that observers’ experience on lipsticks usage affected how observers associated lipstick names with lipstick colours. Observers expected colours having higher chroma and lightness than the actual lipsticks with the given names. Moreover, observers expected colours in Flower group with a wider range of hue, chroma, and lightness than the other name groups. The colour names in the same group showed a tendency to have different colour expectations. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ลิปสติก -- สี |
en_US |
dc.subject |
การเห็นสี |
en_US |
dc.subject |
Lipstick -- Color |
en_US |
dc.subject |
Color vision |
en_US |
dc.title |
ความเชื่อมโยงระหว่างชื่อสีลิปสติกกับสีลิปสติก |
en_US |
dc.title.alternative |
Associations of Lipstick Colour Name with Lipstick Colour |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |