DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงานทางการเงินและรายการคงค้างของกิจการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วชิระ บุณยเนตร
dc.contributor.author จิรบุษ สันโดด
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2008-08-27T02:43:38Z
dc.date.available 2008-08-27T02:43:38Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9745318523
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7872
dc.description วิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายการคงค้างและผลการดำเนินงานทางการเงิน ซึ่งประกอบด้วย กำไรสุทธิ ระดับความสัมพันธ์ของผลการดำเนินงานของกิจการกับของอุตสาหกรรม และกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546 การศึกษาในครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนา (ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% กำไรสุทธิและระดับความสัมพันธ์ของกำไรสุทธิของกิจการกับของอุตสาหกรรมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับรายการคงค้างของกิจการในทางตรงกันข้าม กระแสเงินสดจากการดำเนินงานมีความสัมพันธ์เชิงลบกับรายการคงค้างของกิจการ การศึกษานี้ยังพบว่าตัวแปรควบคุมซึ่งประกอบด้วย ประเภทธุรกิจ ขนาดของกิจการและมูลค่าของรายการคงค้างปีก่อนมีระดับนัยสำคัญทางสถิติสัมพันธ์กับรายการคงค้างอีกด้วยผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยในอดีต เช่น Heidi et., al., 2003 and Myung and Byung 2004 การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่านักลงทุนและผู้ใช้งบการเงินควรคำนึงถึงปัจจัยที่กิจการอาจนำมาใช้ในการบริหารจัดการกำไรของกิจการ en
dc.description.abstractalternative The main objective of this thesis is to investigate the relationship between financial performances and accounting accruals. Financial performance consists of net income, correlations between firm earnings and industry earnings and cashflow from operations. The data set include Thai listed companies in 2004. Both descriptive statistics (frequency, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviations) and inferential statistics, multiple regression analysis are employed to analyze the data. It is found that, as expected, at 95% confidence interval, net income and correlations between firm earnings and industry earnings significantly relate to accounting accruals in positive manners. On the other hand, cashflow form operations significantly relates to accounting accruals in negative manners. In addition, the control variables also significantly related to accounting accruals. They include industry type, firm size and lagged accounting accruals. The results agree with previous study (i.e. Heidi et., al., 2003 and Myung and Byung, 2004). The contribution of this study shows that investors and financial statement users are convinced to pay attention to earnings management of companies. en
dc.format.extent 1987644 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject บริษัทมหาชน -- การเงิน en
dc.subject รายการคงค้าง en
dc.subject การบัญชี en
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงานทางการเงินและรายการคงค้างของกิจการ en
dc.title.alternative The relationship between financial performances and accounting accruals en
dc.type Thesis es
dc.degree.name บัญชีมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline การบัญชี es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor wachira@acc.chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record