DSpace Repository

การประมาณค่าพารามิเตอร์แบบปรับของภาวะความน่าจะเป็นสำหรับแบบจำลองพาเนล

Show simple item record

dc.contributor.advisor จิราพรรณ สุนทรโชติ
dc.contributor.author พัชรสิริ เฟื่องฟู
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-16T07:34:31Z
dc.date.available 2022-06-16T07:34:31Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78845
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract แบบจำลองเฟ-เฮรอทเป็นแบบจำลองที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ดังนั้น จึงมีการศึกษามากมาย เกี่ยวกับแบบจำลองนี้ ทั้งในแง่ของการพัฒนาวิธีการ และการประยุกต์ใช้ งานที่น่าสนใจหนึ่งคือ วิธีการปรับของภาวะควรจะเป็นของค่าความแปรปรวนของ Li และ Lahiri ในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งเสนอ วิธีการปรับสำหรับแบบจำลองเฟ-เฮรอท ในโครงงานนี้เราได้ขยายแนวคิดของ Li และ Lahiri ไปสู่แบบจำลองที่ทั่วไปมากขึ้น ซึ่งคือ แบบจำลองเฟ-เฮรอทแบบพาเนล การขยายมาสู่แบบจำลองพาเนลสามารถรองรับการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมกันหลายปีซึ่งมักเกิดขึ้นในการประยุกต์ สำหรับในการศึกษาของเรา เราศึกษาการประมาณ ค่าพารามิเตอร์แบบปรับภาวะความน่าจะเป็น ทั้งแบบฟังก์ชันภาวะความน่าจะเป็นโปรไฟล์และแบบ ฟังก์ชันภาวะความน่าจะเป็นเรสซิดัล นอกจากนี้ยังมีการนำไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลรายได้เฉลี่ยต่อ ครัวเรือนของประชากรไทย en_US
dc.description.abstractalternative The Fay Herriot model is a widely used model in many applications. Therefore, several studies of the model have been proposed in literature both in the aspect of methodology development and applications. One work is the adjusted likelihood method of variance component of the proposed by Li and Lahiri (2010). Their method was proposed for a classical Fay-Herriot model. In this study, we extend their technique to a more general model which is the panel version of the Fay Herriot model. The panel extension of the model can accommodate simultaneous modelling of data in multiple years which commonly occur in application. In our study, we study the adjusted likelihood method for both the profile likelihood and residual likelihood. Moreover, application to Thai Socio Economic data is also considered. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความน่าจะเป็น en_US
dc.subject แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ en_US
dc.subject การประมาณค่าพารามิเตอร์ en_US
dc.subject Probabilities en_US
dc.subject Mathematical models en_US
dc.subject Parameter estimation en_US
dc.title การประมาณค่าพารามิเตอร์แบบปรับของภาวะความน่าจะเป็นสำหรับแบบจำลองพาเนล en_US
dc.title.alternative Adjusted Likelihood Parameter Estimation for Panel Data Models en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record