DSpace Repository

ผลของตัวแปรดำเนินการต่อประสิทธิภาพการคัดแยกของแข็ง-ของเหลวด้วยเครื่องแยกตัวกลางหนัก

Show simple item record

dc.contributor.advisor เบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ
dc.contributor.advisor รัชชานนท์ เปี่ยมใจสว่าง
dc.contributor.author นภสร นิปัจการ
dc.contributor.author วนาลี เทิดทูนภูภุช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-24T04:35:51Z
dc.date.available 2022-06-24T04:35:51Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78948
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำเป็นปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากพลาสติกถูกนำมาใช้เป็นสารตั้งต้นในระบบอุตสาหกรรมที่ใช้ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เมื่อผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ผลิตขึ้นนี้เกิดการย่อยสลายก็จะแปรสภาพเป็นไมโครพลาสติก โดยไมโครพลาสติกนั้นมีขนาดเล็กมากจึงทำให้เกิดการปนเปื้อนลงในแหล่งน้ำได้ง่าย ส่งผลกระทบกับระบบนิเวศในแหล่งน้ำ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตที่ใช้น้ำในการอุปโภคและบริโภคเหล่านี้ก็จะได้รับอันตรายเมื่อเข้าไปสะสมในร่างกาย ดังนั้นโครงการวิจัยนี้จึงได้ศึกษาตัวแปรดำเนินการต่าง ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการคัดแยกไมโครพลาสติกออกจากน้ำด้วยการใช้เครื่องแยกตัวกลางหนัก โดยจะศึกษาทั้งหมด 2 วิธี คือ ทำการทดลองโดยการใช้ LARCODEMS เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการคัดแยกทั้งหมด 3 ตัวแปร คือ อัตราส่วนปริมาณเม็ดพลาสติก PP ต่อ HDPE (0:1 1:1 และ 1:0) มุมเอียง (15 30 และ 45 องศา) และ ปริมาณเม็ดพลาสติกที่ป้อนเข้า (20 30 และ 40 กรัม) และศึกษาแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณของไฮโดรไซโคลน เพื่อศึกษารูปแบบการไหล โดยมีตัวแปรที่ออกแบบเกี่ยวข้องกับทางป้อนเข้าระบบ 3 ตัวแปร คือ อัตราส่วนความกว้างต่อความสูงของช่องป้อนเข้า (1:2 และ 2:1) องศามุมป้อนเข้า (22.5 และ 45.0 องศา) และ มุมจากระนาบแนวนอน (มุมเงยและมุมกด) ที่ส่งผลต่อค่าความดัน ค่าความเร็วตามแนวแกน ค่าความเร็วตามแนวรัศมี และ ค่าความเร็วตามแนวสัมผัส ภายในไฮโดรไซโคลน ผลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ จะทำให้ทราบผลของตัวแปรที่ทำให้การคัดแยกเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และ ช่วยลดปริมาณไมโครพลาสติกที่ปนเปื้อนในระบบนิเวศ en_US
dc.description.abstractalternative Microplastics contaminated in the environment are currently a significant problem since plastics are used as monomer in many manufacturing processes found in daily life product. Microplastics come from the degradation of plastic products. These tiny microplastic particles has small size so that it is easy to contaminate in water source, therefore, these microplastics then can affect the ecosystem. This research was carried out in two parts. The first part is the development of lab-scale dense media separator. The operating parameters including PP to HDPE content ratio (0:1, 1:1 and 1:0), angle of inclination (15, 30 and 45 degrees) and the solid loading (20, 30 and 40 grams) on the solid-liquid separation efficiency in dense media separator by using LARCODEMS were studied to investigate its performance. The second part is to study the flow behavior within the hydrocyclone by using computational fluid dynamics (CFD). The study design factors included the ratio of width to height of feed inlet (1:2 and 2:1), angle of feed inlet inclination (22.5 and 45.0 degrees) and the inlet orientation (angle of elevation and depression) that affecting the pressure, axial velocity, radial velocity and tangential velocity within the hydrocyclone. The obtained results from this research identify the most effectively separation variables. The outcome provides significant information to reduce the amount of microplastics releasing to the ecosystem. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ไมโครพลาสติก -- การแยก en_US
dc.subject พลศาสตร์ของไหล en_US
dc.subject Microplastics -- Separation en_US
dc.subject Fluid dynamics en_US
dc.title ผลของตัวแปรดำเนินการต่อประสิทธิภาพการคัดแยกของแข็ง-ของเหลวด้วยเครื่องแยกตัวกลางหนัก en_US
dc.title.alternative Effect of operating parameters on the solid-liquid separation efficiency in dense media separator en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record