dc.contributor.advisor |
อนวัช อาชวาคม |
|
dc.contributor.author |
อัจฉริยา แก้วใส |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-27T09:28:39Z |
|
dc.date.available |
2022-06-27T09:28:39Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78999 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ในปัจจุบันการปนเปื้อนของโลหะหนักในสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบและเป็นอันตรายต่อ สิ่งมีชีวิต เราจึงพัฒนาฟลูออเรสเซนต์เซ็นเซอร์ชนิดใหม่เพื่อใช้ตรวจวัดไอออนโลหะ โดยพัฒนาการสังเคราะห์อนุพันธ์ของ 1,4-ไดไฮโดรพิริดีน (DHP) ให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น จากเดิมที่สังเคราะห์ด้วย single component reaction ที่พัฒนาโดยกลุ่มวิจัย ผลิตภัณฑ์ที่ได้เพียงร้อยละ 23 เราสามารถเพิ่มร้อยละของผลิตภัณฑ์ได้เป็นร้อยละ 57 ด้วยการปรับเปลี่ยนสภาวะปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่น เปลี่ยนรีเอเจนต์จาก TiCl₄ เป็น trimethylsilyl chloride และ 1-methyl piperazine เปลี่ยนตัวทำละลายจาก CH₂Cl₂ เป็น DMSO/น้ำ (1:1) และเปลี่ยนอุณหภูมิปฏิกิริยาจากอุณหภูมิห้องเป็น 120 °C จากนั้น นำเอาวิธีที่ปรับปรุงแล้วไปสังเคราะห์ DHP-SH จาก 2-aminoethanethiol และ DHP-SS จาก cystamine จากการทดลองสามารถพิสูจน์โครงสร้างด้วย ¹H NMR และ ¹³C NMR นอกจากนี้ยังมี การสังเคราะห์อนุภาคนาโนซิลเวอร์เพื่อใช้สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจวัดของเซ็นเซอร์ โดย คาดว่าปรากฏการณ์ Surface Plasmon Resonance จะก่อให้เกิด plasmonic effect ซึ่งสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรืองแสงของอนุพันธ์ DHP |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Nowadays, heavy metal contamination in the environment is affecting and harmful to living things. Therefore, we developed a new fluorescent sensor to detect metal ions. The synthesis of 1,4-dihydropyridine (DHP) derivatives was improved in order to perform with higher efficiency. By using a single component reaction, the product was originally obtained was only 23 percent. The percentage of the product could be improved upto 57 percent by altering reaction conditions; for instance, changing reagent from TiCl₄ to trimethylsilyl chloride and 1-methyl piperazine, solvent from CH₂Cl₂ to DMSO/water (1:1), and reaction temperature from ambient room to 120 °C. Then the modified method was used to synthesize DHP-SH from 2-aminoethanethiol and DHP-SS from cystamine. According to the experiment, the structures of the obtained products were characterized by ¹H NMR and ¹³C NMR. In addition, the silver nanoparticles was also synthesized to improve the sensing efficiency of the sensor by speculating that the Surface Plasmon Resonance phenomenon could generate the plasmonic effect which could therefore improve the fluorescing property of the DHP derivatives. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไอออนโลหะ -- การตรวจหา |
en_US |
dc.subject |
การทำให้เกิดสารอนุพันธ์ |
en_US |
dc.subject |
Metal ions -- Detection |
en_US |
dc.subject |
Derivatization |
en_US |
dc.title |
การสังเคราะห์อนุพันธ์ 1,4-ไดไฮโดรพิริดีนแบบใหม่ เพื่อพัฒนาระบบตรวจวัดที่มีอนุภาคนาโน ซิลเวอร์เป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ |
en_US |
dc.title.alternative |
Synthesis of new 1,4-dihydropyridine derivatives for the development of sensing system with silver nanoparticles as an efficiency enhancer |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |