dc.contributor.advisor |
Vorapot Kanokkantapong |
|
dc.contributor.author |
Paranee Wattanarojruang |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-30T00:53:40Z |
|
dc.date.available |
2022-06-30T00:53:40Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79034 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
Microplastics (MPs) have attracted worldwide attention. MPs are gradually detected in freshwater and tap water. In terms of human health risks, MPs as contaminants represent a concern because they can be ingested and accumulated in the body. In this study, the removal efficiency of 0.3 – 4 mm MPs was investigated during traditional coagulation and flocculation processes using aluminum sulphate (alum) as a coagulant and anionic polyacrylamide (APAM) as a coagulant aid. Results showed that the optimum alum dose of 15 mg/L showed maximum turbidity removal efficiency (98.07±0.02%) in non-added MPs raw water. Whilst, 40 mg/L of alum was the optimum dose for highest turbidity removal efficiency (97.77±0.02%) in added MPs raw water and also greatest MPs removal efficiency (80.00±0.00%). After obtained the optimizing alum dose, APAM were added to enhance the removal efficiency of turbidity and MPs. 0.06 mg/L of APAM was the optimum dose for highest turbidity removal efficiency (97.88 ± 0.02%) and 0.04 mg/L was the optimum dose for maximum MPs removal efficiency (85± 0.00%). Based on this investigation, the MPs removal behaviors during coagulation and flocculation processes will have potential application in tap water treatment. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ไมโครพลาสติกเป็นปัญหาที่กำลังได้รับความสนใจจากทั่วโลก ในปัจจุบันมีการตรวจพบ ไมโครพลาสติกในน้ำประปาและแหล่งน้ำจืดที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดความกังวลด้านสุขภาพเพราะไมโครพลาสติกสามารถถูกย่อยและสะสมอยู่ในร่างกายได้ ในงานนี้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพการกำจัดไมโครพลาสติกขนาด 0.3 ถึง 4 มิลลิเมตร ในน้ำดิบ ด้วยกระบวนการสร้างและรวมตะกอน โดยใช้สารส้มเป็นสารสร้างตะกอนและใช้โพลีอะคริลาไมด์ชนิดประจุลบ เป็นสารช่วยรวมตะกอน จากการศึกษาพบว่า การใช้ปริมาณสารส้ม 15 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ประสิทธิภาพในการกำจัดความขุ่นในน้ำดิบสูงสุดร้อยละ 98.07±0.02 ในขณะที่ต้องใช้ปริมาณสารส้ม 40 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงให้ประสิทธิภาพในการกำจัดความขุ่นในน้ำดิบที่มีไมโครพลาสติกผสมอยู่ สูงสุดร้อยละ 97.77±0.02 และ ที่ปริมาณสารส้ม 40 มิลลิกรัมต่อลิตร ยังให้ประสิทธิภาพในการกำจัดไมโครพลาสติกสูงสุดร้อยละ 80.00±0.00 หลังจากที่ทราบปริมาณสารส้มที่เหมาะสมแล้ว โพลีอะคริลาไมด์ชนิดประจุลบจะถูกเติมลงไปเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดความขุ่นและไมโครพลาสติก โดยปริมาณโพลีอะคริลาไมด์ชนิดประจุลบ 0.06 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ประสิทธิภาพสูงสุดในการกำจัดความขุ่นในน้ำดิบที่มีไมโครพลาสติกที่ร้อยละ97.88±0.02 และปริมาณโพลีอะคริลาไมด์ชนิดประจุลบ 0.04 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ประสิทธิภาพสูงสุดในการกำจัดไมโครพลาสติก ที่ร้อยละ 85±0.00 ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการกำจัดไมโครพลาสติกผ่านกระบวนการสร้างตะกอนและรวมตะกอนในโรงบำบัดน้ำที่ผลิตน้ำประปาต่อไป |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Microplastics |
en_US |
dc.subject |
Water -- Purification -- Coagulation |
en_US |
dc.subject |
ไมโครพลาสติก |
en_US |
dc.subject |
น้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การรวมตะกอน |
en_US |
dc.title |
Removal efficiency of 0.3 to 4 millimeters microplastics in raw water via coagulation and flocculation process |
en_US |
dc.title.alternative |
ประสิทธิภาพการกำจัดไมโครพลาสติก ขนาด 0.3 ถึง 4 มิลลิเมตร ในน้ำดิบ ด้วยกระบวนการสร้างและรวมตะกอน |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |