dc.contributor.advisor |
สมชาย เกียรติกมลชัย |
|
dc.contributor.advisor |
นิปกา สุขภิรมย์ |
|
dc.contributor.author |
ญาณิศ คำน้อย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-01T03:47:01Z |
|
dc.date.available |
2022-07-01T03:47:01Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79089 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงงานนี้ศึกษาสมบัติทางเทอร์โมอิเล็กทริกของเอทิลแอมโมเนียมไนเทรตที่ผสมด้วยสารคู่ควบ รีดอกซ์(Redox couple) คือลิเทียมไอโอไดด์(LiI) และไอโอดีน(I₂) ที่ความเข้มข้น 0.1, 0.2, 0.3, 0.4 และ 0.5 โมลาร์(M) ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ซีเบคโดยใช้อุณหภูมิฝั่งร้อนในช่วง 50-40 องศาเซลเซียสและฝั่งเย็น ในช่วง 28.5-25.0 องศาเซลเซียสแบ่งได้ 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มแรกที่มีค่าสัมประสิทธิ์ซีเบคสูง (0.1, 0.2 และ 0.4 โมลาร์) อยู่ในช่วง 707-764 µV/K และกลุ่มที่สองมีค่าค่าสัมประสิทธิ์ซีเบคต่ำ(0.3 และ 0.5 โมลาร์) อยู่ในช่วง 357-408 µV/K เมื่อพิจารณาลักษณะของกระแสไฟฟ้า-ความต่างศักย์ในช่วงความต้านทานโหลด 0 ถึง 111,100 โอห์ม สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มเช่นเดียวกับค่าสัมประสิทธิ์ซีเบค โดยกลุ่มแรก(0.1, 0.2 และ 0.4 โมลาร์) มีการกลับขั้วของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์อย่างสมบูรณ์ที่ความต่างอุณหภูมิในช่วง 8.0-10.2 องศาเซลเซียส กลุ่มที่สอง (0.3 และ 0.5 โมลาร์) มีการกลับขั้วของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์อย่างสมบูรณ์ ที่ความต่างอุณหภูมิอยู่ในช่วง 13.9-16.2 องศาเซลเซียส ค่าความหนาแน่นกำลังไฟฟ้ามีความสูงของจุดยอด ของกราฟที่ลดลงและเกิดที่ความต่างศักย์น้อยลงเมื่อความต่างอุณหภูมิลดลงและกรณีความเข้มข้นสูงกว่าจะมี ค่าความหนาแน่นกำลังไฟฟ้าที่ต่ำกว่า สำหรับค่าความหนาแน่นกำลังไฟฟ้าสูงสุดมีค่าเท่ากับ 2.39 mW/m² ที่ ความเข้มข้น 0.4 โมลาร์และความต่างของอุณหภูมิอยู่ที่ 35.4 องศาเซลเซียส |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This project studied the thermoelectric properties of ethylammonium nitrate with redox couple(Lithium Iodide (LiI) and Iodine (I₂)) at concentrations of 0.1, 0.2, 0.3, 0.4, and 0.5 molars (M). The Seebeck coefficient was measured with the hot side temperature in the range of 50-40 °C and the cold side in the range of 28.5-25.0 °C. The result can be divided into two groups: the first group with high Seebeck coefficient(0.1, 0.2, and 0.4 molars) in the range 707-764 μV/K and the second group has low Seebeck coefficient(0.3 and 0.5 molars) in the range 357-408 μV/K. The current-voltage(I-V) characteristic using the load resistance 0 to 111,100 ohms can be divided into two similar groups as the Seebeck coefficient. The first group(0.1, 0.2, and 0.4 molars) reversed the I-V polarity in the temperature difference ranges of 7.2- 10.2 °C. The second group(0.3 and 0.5 molars) reversed the I-V polarity in the temperature difference range of 13.9-16.2 °C. The power density peak tended to decrease and occur at smaller potential difference as the temperature difference decreases. The higher the concentration is, the lower the power density is. The maximum power density was 2.39 mW/m² at the concentration of 0.4 molar and temperature difference was 35.4 °C. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
วัสดุเทอร์โมอิเล็กทริก |
en_US |
dc.subject |
แอมโมเนียมไนเตรท |
en_US |
dc.subject |
Thermoelectric materials |
en_US |
dc.subject |
Ammonium nitrate |
en_US |
dc.title |
สมบัติทางเทอร์โมอิเล็กทริกของเอทิลแอมโมเนียมไนเทรต |
en_US |
dc.title.alternative |
Thermoelectric properties of Ethylammonium nitrate |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |