DSpace Repository

โครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตามบริบทนัยทั่วไป

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์
dc.contributor.advisor นิวรัลเน็ตเวิร์ค (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
dc.contributor.author ชยานนท์ ขัตติยาภิรักษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2022-07-01T04:17:31Z
dc.date.available 2022-07-01T04:17:31Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79116
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564
dc.description.abstract ปัญหาความสัมพันธ์เชิงเส้นตามบริบท คือปัญหาที่มีตัวแปรต้นที่แบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ โดยในแต่ละกลุ่มจะมีความสัมพันธ์กับผลเฉลยในลักษณะเชิงเส้นที่แตกต่างกัน ทางผู้วิจัยได้สนใจที่จะนำวิธีโครงข่ายประสาทเทียม (Neural Networks) มาแก้ไขปัญหาประเภทดังกล่าว โดยพัฒนาโครงสร้างที่ชื่อว่า Generalized Contextual Regression (GCR) และเปรียบเทียบกับโครงสร้างที่เคยมีมาก่อน ได้แก่ Feedforward Neural Networks (FNN) ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้่นฐาน และ Contextual Regression (CR) ซึ่งนำเสนอโดย Liu และ Wang (2017) งานวิจัยนี้จะศึกษาเฉพาะปัญหาการถดถอยเชิงเส้น ที่ตัวแปรต้นไม่เกิน 10 ตัว ซึ่งมีตัวแปรเชิงบริบทไม่เกิน 3 ตัวเท่านั้น โดยจากผลการวิจัยพบว่าวิธี GCR มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในการแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์เชิงเส้นตามบริบทเมื่อเปรียบเทียบกับวิธี FNN และ CR
dc.description.abstractalternative A problem with group inputs that partition observations into groups, where each group has a unique linear relationship between the response variable and explanatory variable, is known as a linear contextual relation problem. We propose to apply neural network structure to solve the problem by implementing our new method called generalized contextual regression (GCR). We also compare the model's effectiveness to the standard approaches, feedforward neural network (FNN), and the contextual regression method (GCR) by Liu and Wang (2017), which is our motivation. The problem in this study is only linear regression problems which contain at most 10 explanatory variables and at most 3 contextual explanatory variables. From the study, we find that GCR performs best in solving the contextual linear relation problem, comparing with the alternativesm, FNN and CR.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.1051
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject นิวรัลเน็ตเวิร์ค (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
dc.subject การวิเคราะห์การถดถอย
dc.subject Neural networks (Computer science)
dc.subject Regression analysis
dc.subject.classification Computer Science
dc.subject.classification Mathematics
dc.subject.other Neural networks (Computer science)
dc.title โครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตามบริบทนัยทั่วไป
dc.title.alternative Neural networks for generalized contextual linear regression
dc.type Thesis
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สถิติ
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2021.1051


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record