DSpace Repository

การวัดอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ โดยใช้วิธีศึกษาจุดมืดบนดวงอาทิตย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์
dc.contributor.author อัฏพิทยกุล เอกตาแสง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-07-04T03:57:12Z
dc.date.available 2022-07-04T03:57:12Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79152
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การวัดอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์โดยใช้วิธีศึกษาจุดมืดบนดวงอาทิตย์” มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ โดยใช้สิ่งที่สามารถสังเกตได้ง่ายจากโลก อันได้แก่ จุดมืดบนดวง อาทิตย์ ในการโครงงานนี้ได้พยายามถ่ายภาพดวงอาทิตย์ โดยใช้กล้องโทรทัศน์แบบ Newtonian ที่มีความยาวโฟกัส 650 มิลลิเมตร และนำภาพถ่ายที่ได้มาวิเคราะห์ เพื่อหาอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์แต่เนื่องจากในระยะเวลาของการทดลองไม่ สามารถถ่ายภาพของจุดดำได้ จึงได้นำภาพดวงอาทิตย์ จาก “Laboratory of X-ray astronomy of the Sun” มาทำการคำนวณ ผลที่ได้คือ ดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองเฉลี่ย 13.8 องศาต่อวัน และไม่เท่ากันในแต่ละละติจูด การที่ดวงอาทิตย์มี อัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองไม่เท่ากันนั้น เป็นผลเนื่องจากดวงอาทิตย์เป็นกลุ่มก๊าซขนาดใหญ่ ไม่ใช่วัตถุแข็งเกร็ง ดังนั้นแรงที่ทำให้ เกิดการหมุนจึงมีเพียงแรงหนืดเท่านั้น อัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองจึงไม่เท่ากันในทุกตำแหน่งและด้วยผลของการหมุนรอบตัวเองที่ ไม่เท่ากันในทุกตำแหน่งนี้ส่งผลต่อสนามแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์ ซึ่งการแปรปรวนของสนาม แม่เหล็กนี้ทำให้เกิด “จุดมืด” นั้นเอง en_US
dc.description.abstractalternative The objective of the project “A study of solar Rotation Rate Using Sunspot” is to find rotation period of the sun by using something that could be observed from Earth called “Sunspot”. In this study, Newtonian telescope which focus 650 mm was used to take a photo of the sun. Then the pictures were analyzed to calculate the rotational speed of the sun. Because of the solar images could not be taken during the observation due to the lack of sunspots, the solar images from “Laboratory of X-ray astronomy of the Sun” were used to calculation. The result is that the average rotational speed of the sun is 13.8 degree per day. Unequal period of rotation is because the sun is a large ball of gas so there is only viscous force make the rotational at different latitude unequal. The unequal rotational period then causes the magnetic field of sun fluctuated then sunspot has created. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject จุดในดวงอาทิตย์ en_US
dc.subject ดวงอาทิตย์ en_US
dc.subject การเคลื่อนที่แบบหมุน en_US
dc.subject Sunspots en_US
dc.subject Sun -- Rotation en_US
dc.subject Rotational motion en_US
dc.title การวัดอัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ โดยใช้วิธีศึกษาจุดมืดบนดวงอาทิตย์ en_US
dc.title.alternative A Study of Solar Rotation Rate Using Sunspot Tags en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record