DSpace Repository

การพัฒนาความทนด่างบนผ้าไหมสำหรับการเหนี่ยวนำผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดุจฤทัย พงษ์เก่า คะชิมา
dc.contributor.author ปฐมพล สุโพภาค
dc.contributor.author ศุภามน กี่สง่า
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-07-12T06:57:05Z
dc.date.available 2022-07-12T06:57:05Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79246
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract การเหนี่ยวนำผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์บนผ้าไหม สามารถทำได้โดยผ้าไหมซึ่งมีหมู่เอไมด์ในโครงสร้าง สามารถตรึง Ca ได้ดี ทำให้สามารถเหนี่ยวนำให้เกิดไฮดรอกซีอะพาไทต์ (HA) ขึ้นบนผืนผ้าไหมได้ แต่เนื่องจาก HA เกิดได้ดีในภาวะด่าง ซึ่งในภาวะด่าง โปรตีนในเส้นใยในผ้าไหมจะถูกทำลายลง ทำให้ผ้าไหมเกิดความเสียหาย จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า แอลกอฮอล์สามารถช่วยจัดระเบียบโครงสร้างโปรตีนของเจลสกัดจากรังไหมให้มีความแข็งแรงขึ้นได้ ผู้วิจัยจึงเลือกใช้แอลกอฮอล์เพื่อปรับผิวผ้าไหมก่อนการเหนี่ยวนำ HA บนผืนผ้า โดยใช้แอลกอฮอล์ 2 ชนิด คือ Isopropanol และ Ethanol ปรับผิวผ้าไหมก่อนการเหนี่ยวนำ HA จากนั้นนำผ้าไหมที่ผ่านการปรับผิวแล้วไปจุ่มแช่ในสารละลาย CaCl₂ และ Na₂HPO₄ เป็นเวลา 15 นาที โดยทำซ้ำ 7 รอบ ก่อนแช่ค้างคืนใน NaHPO₄ จากนั้นนำไปอบที่ 60 °C แล้วนำไปวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะ ซึ่งพบว่าผ้าไหมเกิดผลึก HA ขึ้นเป็นเฟสหลักและหมู่โครงสร้างของผ้าไหมที่วิเคราะห์ด้วย ATR-FTIR เปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย ผลการดูดซับแอมโมเนียของผ้าที่เหนี่ยวนำ HA ที่ไม่ผ่านการปรับสภาพผิวมีการดูดซับที่ดีสุด ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นว่าการใช้แอลกอฮอล์ปรับผิวผ้าไหม แม้จะทำให้เกิดการเหนี่ยวนำ HA ในภาวะด่างได้ แต่แอลกอฮอล์ก็ทำให้โครงสร้างของเส้นใยไหมเปลี่ยนสภาพไป ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการดูดซับแอมโมเนียที่ลดลงด้วย en_US
dc.description.abstractalternative Inducing of hydroxyapatite crystals on silk fabric can be accomplished via the binding of Ca²⁺ to amide group in silk fiber. However, HA predominantly precipitates in alkaline condition which protein in silk fiber cannot be tolerated. From literature review, it was reported that alcohols could rearrange the protein structure inside extracted silk gel from silk cocoon and made higher strength in that gel. This is a reason why we aim at selecting two kinds of alcohols, ethanol and isopropanol, to treat silk fabric before inducing of HA. Then, surface treated silk fabric subsequently soaked in CaCl₂ and Na₂HPO₄ for each 15 mins and 7 cycles, repeatedly. After that it was incubated in Na₂HPO₄, 60°C for overnight. Phase analyses, functional groups, and ammonia adsorption testing were performed by XRD, ATR-FTIR, and ammonia gas adsorption testing apparatus which we had set up in our laboratory. The results indicated that HA could be induced on silk fabric as a major phase without any second phase contaminated when using ethanol as surface treatment chemical. However, the ammonia adsorption testing results implied that ethanol might destroy silk fiber in silk fabric as shown in the decreasing of ammonia adsorption ability. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ไฮดรอกซีอะพาไทต์ en_US
dc.subject ผ้าไหม en_US
dc.subject แอมโมเนีย -- การดูดซึมและการดูดซับ en_US
dc.subject Hydroxyapatite en_US
dc.subject Silk en_US
dc.subject Ammonia -- Absorption and adsorption en_US
dc.title การพัฒนาความทนด่างบนผ้าไหมสำหรับการเหนี่ยวนำผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ en_US
dc.title.alternative Development of alkaline resistant on silk fabric for inducing of hydroxyapatite crystal en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record