DSpace Repository

การสังเคราะห์และวิเคราะห์วัสดุรูพรุน ZSM-5 ที่เจือด้วยไนโอเบียมเพื่อการประยุกต์ใช้ในไบโอพลาสติกและเครื่องสำอาง

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุคคเณศ ตุงคะสมิต
dc.contributor.author ชนิสรา จันทรังษี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-07-18T07:08:44Z
dc.date.available 2022-07-18T07:08:44Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79292
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract โครงงานนี้ได้ทำการสังเคราะห์วัสดุรูพรุน ZSM-5 ที่มีรูพรุนขนาดเล็กได้สำเร็จ และทำการเจือด้วย ไนโอเบียม (Nb-doping) ด้วยวิธีการ Direct synthesis ผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ทั้งหมดถูกนำไปวิเคราะห์ สมบัติเฉพาะทางด้านฟิสิกส์โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ การดูดซับแก๊สไนโตรเจน และกล้อง- จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ พบว่าวัสดุรูพรุน ZSM-5 ที่เจือด้วยไนโอเบียมยังคงรักษาโครงสร้างของ ZSM-5 ไว้ได้หลังจากทำการเจือไน- โอเบียมเข้าไป (3% โดยโมล) แต่ไม่สามารถสังเกตเห็นยอดกราฟของไนโอเบียมออกไซด์ได้อย่างชัดเจน และ จากการคำนวณหาขนาดของผลึก ขนาดของผลึก ZSM-5 มีขนาดประมาณ 31 นาโนเมตร และผลึกของ Nb- ZSM-5 มีขนาดประมาณ 18 นาโนเมตร ผลจากการศึกษาสมบัติทางกายภาพด้วยเทคนิคการดูดซับแก๊ส ไนโตรเจนพบว่าพื้นที่ผิวจำเพาะของ Nb-ZSM-5 นั้นมากกว่าพื้นที่ผิวจำเพาะของ ZSM-5 แต่ปริมาตรและ ขนาดของรูพรุนนั้นมีเท่ากัน en_US
dc.description.abstractalternative In this work, the microporous ZSM-5 materials were successfully synthesized and doped with niobium by using direct synthesis method. All synthesized products were characterized for their physical properties by using X-ray powder diffraction, N2 adsorption- desorption and scanning electron microscopy. The results from crystal structure analysis using X-ray powder diffraction showed that the niobium-doped ZSM-5 porous material can maintain the structure of the ZSM-5 crystal after doping with niobium (at 3% by mol) but it was not possible to clearly identify the peaks related to niobium. From the calculation, the crystallite size of ZSM-5 and Nb-ZSM-5 was about 31 and 18 nm, respectively. The results from N2 adsorption-desorption showed that the specific surface area of Nb-ZSM-5 is larger than ZSM- 5 but the pore volume and pore diameter are the same. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วัสดุรูพรุน en_US
dc.subject ไนโอเบียม en_US
dc.subject Porous materials en_US
dc.subject Niobium en_US
dc.title การสังเคราะห์และวิเคราะห์วัสดุรูพรุน ZSM-5 ที่เจือด้วยไนโอเบียมเพื่อการประยุกต์ใช้ในไบโอพลาสติกและเครื่องสำอาง en_US
dc.title.alternative Synthesis and characterization of ZSM-5 porous material for bioplastics and cosmetics application en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record