DSpace Repository

Synthesis and investigation of tetraaminophthalocyanines for electrocatalytic reduction reaction of carbon dioxide

Show simple item record

dc.contributor.advisor Patchanita Thamyongkit
dc.contributor.author Teedhat Trisukhon
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned 2022-07-21T08:52:15Z
dc.date.available 2022-07-21T08:52:15Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79319
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract In this work, synthesis and investigation on homogeneous catalytic activities for electrochemical reduction (ECR) of carbon dioxide (CO₂) of amino-functionalized Co(II)-, Ni(II)-, and Cu(II)- phthalocyanines were described. Current enhancement under CO₂-saturated condition observed by cyclic voltammetry indicated involvement of all complexes in the ECR of CO₂. Chronoamperometry applying potential of ‒1.6 V vs. Ag/AgCl QRE for 2 h, followed by product analysis by gas chromatography showed that amino-functionalized Co(II)-, Ni(II)-, and Cu(II)-phthalocyanines yielded hydrogen gas (H₂) with %Faradaic efficiency (%FE) of 32%, 35% and 39%, respectively. However, only amino-functionalized Co(II)- and Ni(II)- phthalocyanines yielded carbon monoxide (CO) with %FE of 1.6% and 0.2%, respectively. The results indicated that it is promising to further develop Co(II)-phthalocyanine-based electrocatalytic system for the production of CO while the Cu(II)-phthalocyanine-based one seems to be suitable for H₂ evolution. Keywords: en_US
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์และศึกษาความสามารถในการเร่งปฏิกิริยารีดักชันเชิงเคมีไฟฟ้าของคาร์บอนไดออกไซด์แบบเอกพันธ์ของสารประกอบโคบอลต์ (II)-, นิกเกิล (II)-และ คอปเปอร์ (II)-พทาโลไซ-ยานีนที่ถูกปรับปรุงโครงสร้างด้วยหมู่อะมิโน การเพิ่มขึ้นของกระแสไฟฟ้ารีดักชันภายใต้ภาวะอิ่มตัวด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ศึกษาด้วยวิธีไซคลิกโวลแทมเมตทรีแสดงถึงการมีส่วนร่วมของสารเชิงซ้อนทุกชนิดในกระบวนการรีดักชันเชิงเคมีไฟฟ้าของคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อทำการให้ศักย์ไฟฟ้า -1.6 โวลต์เทียบกับขั้วไฟฟ้าอ้างอิงซิลเวอร์/ซิลเวอร์คลอไรด์ชนิดควอไซ เป็นระยะเวลา 2 ชั่วโมงด้วยเทคนิคโครโนแอมเปอโรแมทรี และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโตกราฟี พบว่าโคบอลต์ (II)-, นิกเกิล (II)-และคอปเปอร์ (II)-พทาโลไซยานีนให้แก๊สไฮโดรเจนเป็นผลิตภัณฑ์โดยมีประสิทธิภาพฟาราเดย์เท่ากับ 32%, 35% และ 39% ตามลำดับ แต่มีเพียงโคบอลต์ (II)-, นิกเกิล (II)-พทาโลไซยานีนเท่านั้นที่ให้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์ด้วยประสิทธิภาพฟาราเดย์เท่ากับ 1.6%, 0.2% จากผลการทดลองสรุปได้ว่าระบบปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีโดยมีโคบอลต์ (II)-พทาโลไซยานีนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยามีแนวโน้มในการผลิตแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์สูงที่สุด ในขณะที่ระบบปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีโดยคอปเปอร์ (II)-พทาโลไซยานีนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเหมาะสำหรับการสังเคราะห์แก๊สไฮโดรเจน en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject คาร์บอนไดออกไซด์ en_US
dc.subject รีดักชัน (เคมี) en_US
dc.subject เคมีไฟฟ้า en_US
dc.subject Carbon dioxide en_US
dc.subject Reduction (Chemistry) en_US
dc.subject Electrochemistry en_US
dc.title Synthesis and investigation of tetraaminophthalocyanines for electrocatalytic reduction reaction of carbon dioxide en_US
dc.title.alternative การสังเคราะห์และทดสอบประสิทธิภาพการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของเตตระอะมิโนพทาโลไซยานีนสำหรับปฏิกิริยารีดักชันของคาร์บอนไดออกไซด์ en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record