dc.contributor.advisor |
Tippawan Siritientong |
|
dc.contributor.advisor |
Anchalee Avihingsanon |
|
dc.contributor.author |
Daylia Thet |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-23T03:57:18Z |
|
dc.date.available |
2022-07-23T03:57:18Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79424 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 2020 |
|
dc.description.abstract |
Objectives: (1) To compare means of nutritional scores and means of depression scores from 2016 and 2020 (2) To investigate relationship between nutritional scores and depression scores (3) To establish nutritional score prediction model. Methodology: A longitudinal retrospective survey study was performed. Population were human immunodeficiency virus (HIV)-infected Thai elderly patients aged 50 years and above who were receiving HIV care and had previously participated in the aging cohort study conducted from March 2016 to April 2017 at the HIV-NAT Center, Bangkok, Thailand. Sample size for multiple regression analysis is calculated as 15 cases per 1 independent variable. This study contained 16 variables; then, 240 participants should be included. Purposive sampling method was executed. Results: A total of 250 (100%) participants were included in this study. Most of them were male (60.8%). The mean age was 59.78 ± 5.6 years. The means of nutritional scores declined in 2020 compared to 2016 (24.85 vs 25.78, p < 0.001). The mean depression scores declined in 2020 compared to 2016 (3.14 vs 3.83, p = 0.001). The participants with depression were more likely to be deteriorated in nutritional status over time than those without depression. Nutritional score prediction model confirmed by hierarchical stepwise multiple regression analysis was Nutritional scores =– 0.470 Depression scores** – 0.301 Number of medications** – 0.193 high-density lipoprotein cholesterol (HDL-C) ** + 0.126 triglyceride* + 0.105 CD4* Conclusion: Depression scores, number of medications, HDL-C, triglyceride and CD4 were significant predictors of nutritional scores. |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์การวิจัย: (1) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินภาวะโภชนาการและคะแนนประเมินภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อเอชไอวีและได้รับยาต้านไวรัส ระหว่างปีพ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2563 (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนประเมินภาวะโภชนาการและคะแนนประเมินภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อสร้างแบบจำลองทำนายคะแนนประเมินภาวะโภชนาการ ระเบียบวิธีวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจแบบย้อนหลังระยะยาวในประชากรผู้สูงอายุชาวไทยที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งติดเชื้อเอชไอวีและได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส รวมถึงเคยเข้าร่วมการวิจัย ณ ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิกด้านโรคเอดส์ (HIV-NAT center), กรุงเทพฯ, ประเทศไทย ในระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ถึงเมษายน พ.ศ. 2560 มาก่อน ขนาดตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณคำนวณจาก 1 ตัวแปรอิสระควรได้ข้อมูลจากผู้ป่วยจำนวน 15 คน การวิจัยนี้มีตัวแปรอิสระ 16 ตัวแปรจึงต้องการข้อมูลจากผู้ป่วยอย่างน้อย 240 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ผลการวิจัย: จากผู้เข้าร่วมการวิจัยทั้งหมด 250 (100%) คน ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย (60.8%) อายุเฉลี่ยเท่ากับ 59.78 ± 5.6 ปี มีค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินภาวะโภชนาการในปี พ.ศ. 2563 ลดลงเมื่อเทียบกับคะแนนในปีพ.ศ. 2559 (24.85 vs 25.78, p < 0.001). ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินภาวะซึมเศร้าก็ลดลงเช่นกัน (3.14 vs 3.83, p = 0.001) ผู้เข้าร่วมการวิจัยที่มีภาวะซึมเศร้ามีแนวโน้มที่ภาวะโภชนาการจะแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไปมากกว่าผู้ที่ไม่มีภาวะซึมเศร้า แบบจำลองการทำนายคะแนนทางโภชนาการที่ยืนยันโดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณแบบลำดับชั้นคือ คะแนนภาวะโภชนาการ = -0.470 คะแนนประเมินภาวะซึมเศร้า** – 0.301 จำนวนยาที่ได้รับ** – 0.193 ระดับไขมันเอชดีแอล (HDL-C) ** + 0.126 ระดับไตรกลีเซอไรด์* + 0.105 ระดับ CD4* สรุป: คะแนนประเมินภาวะซึมเศร้า, จำนวนยาที่ได้รับ, ระดับไขมันเอชดีแอล, ระดับไตรกลีเซอไรด์และระดับ CD4 เป็นตัวทำนายที่สำคัญของคะแนนภาวะโภชนาการ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.368 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
AIDS (Disease) -- Patients -- Nutrition |
|
dc.subject |
AIDS (Disease) in old age |
|
dc.subject |
โรคเอดส์ -- ผู้ป่วย -- โภชนาการ |
|
dc.subject |
โรคเอดส์ในวัยสูงอายุ |
|
dc.title |
Factors predicting nutritional scores in HIV-infected elder receiving antiretroviral therapy in Thailand |
|
dc.title.alternative |
ปัจจัยทำนายคะแนนโภชนาการในผู้สูงอายุที่ติดเชื้อเอชไอวีและได้รับการบําบัดด้วยยาต้านไวรัสในประเทศไทย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science in Pharmacy |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Pharmaceutical Care |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2020.368 |
|