dc.contributor.advisor |
Kanokporn Bhalang |
|
dc.contributor.advisor |
Joao Nuno Andrade Requicha Ferreira |
|
dc.contributor.author |
Chanida Chaiworn |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-23T04:01:13Z |
|
dc.date.available |
2022-07-23T04:01:13Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79478 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020 |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this research project were 1) To evaluate the effectiveness of amitriptyline therapy on improving pain and the oral health-related quality of life (OHRQoL) in BMS patients when compared to palliative topical therapies (sodium bicarbonate mouthwash). 2) To determine the association between therapy of amitriptyline and heart rate variability (HRV) parameters. 3) To assess the association between pain outcomes and fluctuations in HRV parameters. This project was composed of a retrospective and a prospective study, and subjects were primary BMS patients recruited at the Oral Medicine Clinic, Faculty of Dentistry, Chulalongkorn University. In the retrospective study, 20 female participants were phone interviewed with 3 validated questionnaires and specific data was retrieved from the subject's clinical charts. Four females already taking amitriptyline or sodium bicarbonate mouthwash were then recruited into a pilot prospective study to evaluate changes on pain, OHRQoL and HRV between baseline, 3-month and 6-month follow-up visits. No significant differences on patient global impression of change (PGI-C) and OHRQoL between different age groups, working status, treatment options or psychological profile were found in the retrospective study (p<0.05). Regarding the prospective study, pain intensity in the sodium bicarbonate group was decreased from baseline to 3 months, while in amitriptyline group it increased and PGI-C was not changed. OHRQoL in sodium bicarbonate group and amitriptyline group were comparable at baseline and 6 months. HRV parameters in the amitriptyline group was higher than subjects in sodium bicarbonate group. These findings emphasize the value of PGI-C and OHRQoL assessments when it comes to adjust strategies during pain management in each individual with primary BMS. However, this is a pilot prospective study and must be interpreted with caution because of the limited sample size. Future investigations should be performed to confirm our findings with a randomized controlled clinical trial and also to determine the number of primary BMS patients that need to be treated (NNT) to have a clinical impact. |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ 1) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนต่อการลดความเจ็บปวดและการเพิ่มคุณภาพชีวิตในมิติคุณภาพช่องปากในผู้ป่วยกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปากชนิดปฐมภูมิเมื่อเปรียบเทียบกับการรักษาแบบประคับประคองด้วยน้ำยาบ้วนปากโซเดียมไบคาร์บอเนต 2) เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนและการผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจ 3) เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างผลของอาการปวดและความผันผวนของความผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจ การศึกษานี้ประกอบด้วยการศึกษาย้อนหลังและการศึกษาไปข้างหน้า ทำการศึกษาในผู้ป่วยกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปากชนิดปฐมภูมิที่เข้ารับการรักษา ณ คลินิกบัณฑิตศึกษาเวชศาสตร์ช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการศึกษาแบบย้อนหลังได้เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 3 ชนิดในผู้ป่วยเพศหญิงจำนวน 20 คน ผู้ป่วยเพศหญิงจำนวน 4 คนที่ได้รับการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนหรือน้ำยาบ้วนปากโซเดียมไบคาร์บอเนตได้เข้าร่วมในการศึกษานำร่องแบบไปข้างหน้าเพื่อเก็บข้อมูลได้แก่ อาการปวด คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากและการผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจที่จุดเริ่มต้นและติดตามที่ระยะ 3 เดือนและ 6 เดือน ผลการศึกษาย้อนหลังไม่พบความแตกต่างของความประทับใจสากลของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลงและคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากระหว่างกลุ่มอายุ การทำงาน การรักษา และลักษณะทางด้านจิตใจที่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความสำคัญน้อยกว่า 0.05 ผลการศึกษาไปข้างหน้าพบว่าค่าจากมาตรวัดความเจ็บปวดด้วยสายตาของกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยน้ำยาบ้วนปากโซเดียมไบคาร์บอเนตที่ระยะ 3 เดือนลดลงจากจุดเริ่มต้น ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนมีค่าจากมาตรวัดความเจ็บปวดด้วยสายตาเพิ่มขึ้นและไม่มีการเปลี่ยนแปลงของความประทับใจสากลของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนและกลุ่มที่ได้รับน้ำยาบ้วนปากโซเดียมไบคาร์บอเนตใกล้เคียงกันที่จุดเริ่มต้นและระยะติดตามผล 6 เดือน ตัวแปรของความผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนสูงกว่ากลุ่มที่รักษาด้วยน้ำยาบ้วนปากโซเดียมไบคาร์บอเนต ผลการศึกษาที่พบเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการนำการประเมินความประทับใจสากลของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลงและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมาปรับใช้ในการดูแลผู้ป่วยในรายบุคคล แต่อย่างไรก็ตามการศึกษานำร่องแบบไปข้างหน้านี้ควรแปลผลด้วยความรอบคอบเนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องขนาดตัวอย่างที่มีอย่างจำกัด ควรพิสูจน์ผลของการศึกษานี้อีกครั้งในการศึกษาในอนาคตด้วยการทดลองสุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบทางคลินิกรวมถึงกำหนดจำนวนที่ต้องใช้ในการรักษาของผู้ป่วยที่เพียงพอจะทำให้เห็นถึงผลกระทบทางคลินิก ความประทับใจสากลของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลง |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.348 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Amitriptyline |
|
dc.subject |
Mouth -- Diseases -- Chemotherapy |
|
dc.subject |
Heart -- Effect of drugs on |
|
dc.subject |
อะมิทริพไทลิน |
|
dc.subject |
ปาก -- โรค -- การรักษาด้วยยา |
|
dc.subject |
หัวใจ -- ผลกระทบจากยา |
|
dc.subject.classification |
Dentistry |
|
dc.title |
Treatment effects of amitriptyline on pain symptoms, quality of life and heart rate variability in burning mouth syndrome patients |
|
dc.title.alternative |
ผลของการรักษาด้วยยาอะมิทริปไทลีนต่ออาการปวด คุณภาพชีวิตและการผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจในผู้ป่วยกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปาก |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Oral Medicine |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2020.348 |
|