DSpace Repository

Effect of chlorhexidine gluconate on dentin carious lesion in vitro

Show simple item record

dc.contributor.advisor Waleerat Sukarawan
dc.contributor.author Patcharanun Borompiyasawat
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2022-07-23T04:01:18Z
dc.date.available 2022-07-23T04:01:18Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79484
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020
dc.description.abstract Objective:The purpose of this study were to compare mean mineral density(MMD) and examine the remineralized pattern of carious dentin after cavity disinfectant with chlorhexidine gluconate (CHX) and restore with H-GIC in vitro. Materials and Methods: Selective caries removal to leathery dentin was performed in forty extracted primary molars. The samples were scanned using micro-computed tomography (micro-CT) as the MMD baseline and randomly divided into 4 groups: Group A (n=10) applied dentin conditioner and restored with H-GIC (Equia Forte™), Group B (n=10) disinfected the cavity with 2% CHX for 1 minute before applied dentin conditioner and restored with H-GIC (Equia Forte™), Group C (n=10) restored with H-GIC (Ketac Universal™) and Group D (n=10) disinfected the cavity with 2% CHX for 1 minute before restored with H-GIC (Ketac Universal™). After restoration, all samples were scanned micro-CT as the MMD after restoration. All samples were subjected to pH cycling process for 14 days and scanned micro-CT as the MMD after pH cycling. One sample from each group was randomly selected to analyze by the scanned electron microscope (SEM). Results: The comparison of MMD gain after restoration among 4 groups was a significant difference between EquiaTM and CHX-KetacTM group (oneway ANOVA with Post hoc (Tukey) test, P = 0.045). Group A: the MMD gain after restoration (±SD) was 88.81 (±59.857), group B; 168.29 (±100.899), group C; 165.54 (±72.366) and group D; 183.00 (±73.096) mgHA/ccm. Moreover, there was a significant difference of the MMD gain after restoration between EquiaTM and CHX-EquiaTM group (Independent t-test, P = 0.046). But between KetacTM and CHX-KetacTM group, there was no difference. From SEM, CHX-KetacTM group had the smallest dentinal tubule orifices and the thickest intertubular dentin among 4 groups. CHX-EquiaTM group had thicker intertubular dentin than EquiaTM group. Conclusion: The groups with 2% CHX as a cavity disinfectant had higher MMD gain and thicker intertubular dentin than non-CHX group. Therefore, the application of 2% CHX on demineralization dentin enhances the remineralization of contacted dentin underneath the restoration.
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยและศึกษารูปแบบการคืนกลับแร่ธาตุของรอยผุหลังเตรียมโพรงฟันด้วยสารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตและบูรณะด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ในห้องปฏิบัติการ วิธีการทดลอง: ฟันกรามน้ำนมที่ถูกถอนจำนวน 40 ซี่ ได้รับการกำจัดเนื้อฟันผุแบบเลือก นำตัวอย่างหาค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยก่อนบูรณะด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ระดับจุลภาค และแบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็น 4 กลุ่มดังนี้  กลุ่ม A (n=10); ทาสารปรับสภาพเนื้อฟันและบูรณะด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ (Equia Forte™) กลุ่ม B (n=10); เตรียมโพรงฟันด้วยสารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตร้อยละ 2 เป็นเวลา 1 นาที ก่อนทาสารปรับสภาพเนื้อฟันและบูรณะด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ (Equia Forte™) กลุ่ม C (n=10); บูรณะด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ (Ketac Universal™) และกลุ่ม D (n=10); เตรียมโพรงฟันด้วยสารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตร้อยละ 2 เป็นเวลา 1 นาที และบูรณะด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ (Ketac Universal™) ภายหลังบูรณะนำตัวอย่างทั้งหมดหาค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยหลังบูรณะ  และผ่านกระบวนการจำลองสภาวะช่องปากด้วยความเป็นกรดด่าง 14 วัน หาค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยหลังจำลองความเป็นกรดด่าง สุ่มตัวแทน 1 ตัวอย่างจากแต่ละกลุ่มเพื่อศึกษารูปแบบการคืนกลับแร่ธาตุของฟันผุด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด ผลการทดลอง: เปรียบเทียบค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นหลังบูรณะระหว่าง 4 กลุ่มพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่ม EquiaTM และ กลุ่ม CHX-KetacTM (oneway ANOVA with Post hoc (Tukey) test, P = 0.045) กลุ่ม A: ค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นหลังบูรณะ (±SD) คือ 88.81 (±59.857), กลุ่ม B; 168.29 (±100.899), กลุ่ม C; 165.54 (±72.366) และกลุ่ม D; 183.00 (±73.096) mgHA/ccm และเมื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นหลังบูรณะระหว่างกลุ่มที่ใช้และไม่ใช้สารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตพบว่า กลุ่ม EquiaTM และ CHX-EquiaTM มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (Independent t-test, P = 0.046) ในขณะที่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม KetacTM และ CHX-KetacTM ซึ่งผลของค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับรูปแบบการคืนกลับแร่ธาตุของฟันผุดังนี้ CHX-KetacTM พบรูเปิดท่อเนื้อฟันขนาดเล็กที่สุดและมีความหนาของเนื้อฟันระหว่างท่อมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบทั้ง 4 กลุ่ม นอกจากนี้กลุ่ม CHX-EquiaTM มีความหนาของเนื้อฟันระหว่างท่อมากกว่ากลุ่ม EquiaTM สรุป: กลุ่มที่เตรียมโพรงฟันด้วยสารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตร้อยละ 2 มีค่าความหนาแน่นแร่ธาตุเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นมากกว่าและมีความหนาของเนื้อฟันระหว่างท่อมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้สารเตรียมโพรงฟัน ดังนั้นการใช้สารคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตร้อยละ 2 บนเนื้อฟันที่มีการสูญเสียแร่ธาตุสามารถช่วยส่งเสริมให้เกิดการคืนกลับแร่ธาตุใต้วัสดุบูรณะกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.353
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Dental glass ionomer cements
dc.subject Chlorhexidine
dc.subject Dentistry, Operative
dc.subject กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ทางทันตกรรม
dc.subject คลอร์เฮกซิดีน
dc.subject ทันตกรรมบูรณะ
dc.subject.classification Dentistry
dc.title Effect of chlorhexidine gluconate on dentin carious lesion in vitro
dc.title.alternative ผลของคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตต่อรอยผุชั้นเนื้อฟันการวิจัยเชิงทดลองในห้องปฏิบัติการ
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Pediatric Dentistry
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2020.353


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record