dc.contributor.advisor |
กมลวรรณ จุติวรกุล |
|
dc.contributor.author |
กมลาสน์ อำนวย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-23T04:15:34Z |
|
dc.date.available |
2022-07-23T04:15:34Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79547 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 |
|
dc.description.abstract |
ที่มา: ในประเทศไทยการดูแลผู้ป่วยที่มีซีเอ็มวีซีโรโลยีให้ผลบวกในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ จะใช้วิธีการตรวจระดับซีเอ็มวีไวรัสในเลือดอย่างใกล้ชิดซึ่งเป็นวิธีที่มีค่าใช้จ่ายสูง
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสามารถในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสซีเอ็มวีในช่วง 3 เดือนหลังการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้วิธีทดสอบภูมิคุ้มกันชนิด ควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวี
วิธีการศึกษา: งานวิจัยรูปแบบการศึกษาไปข้างหน้า รวบรวมประชากรตัวอย่างที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ และมีซีเอ็มวีซีโรโลยีให้ผลบวก ได้รับการตรวจติดตามระดับไวรัสซีเอ็มวี ในเลือดทุก1-2 สัปดาห์ ควบคู่กับการตรวจ ควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวี ก่อนการปลูกถ่ายอวัยวะ, 1 และ 3 เดือนหลังการปลูกถ่ายอวัยวะ
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยตัวอย่างได้รับการปลูกถ่ายไตทั้งหมด 41 คน พบมีภาวะการติดเชื้อไวรัสซีเอ็มวี 25 คน คิดเป็นร้อยละ 61 จากงานวิจัยพบว่า ควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวีที่ 1 เดือนหลังการปลูกถ่ายอวัยวะ มีความไวและความจำเพาะต่ำ คิดเป็นร้อยละ 48 และ 62.5 ตามลำดับ และ พบควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวีที่ 3 เดือนหลังการปลูกถ่ายอวัยวะมีค่า Negative predictive value ร้อยละ 91.7
สรุปผลการวิจัย: ควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวีที่ 1 เดือน มีความสามารถในการคาดกาณ์การเกิดการติดเชื้อไวรัสซีเอ็มวีต่ำทั้งความไวและความจำเพาะ อย่างไรก็ตาม ผลบวกที่ 3 เดือน อาจมีประโยชน์ในแง่การเริ่มยารักษาการติดเชื้อซีเอ็มวี |
|
dc.description.abstractalternative |
Background: Preemptive therapy with weekly CMV viral load monitoring is the main strategy for intermediate-risk (CMV IgG R+) patients in Thailand. Due to the over usage of weekly PCR for CMV viral load, we study the performance of QuantiFERON CMV
Method: A prospective cohort study of CMV-seropositive solid organ transplant recipients was conducted. The primary objective is that the QuantiFERON CMV in 1st month after transplant can be a reliable test for the prediction of CMV infection within 3 months.
Result: 41 participants including 25 (61.0%) with CMV DNAemia were enrolled during the study period. All participants underwent only kidney transplantation. The diagnostic performance of 1-month QuantiFERON CMV revealed that sensitivity and specificity were 48.0% and 62.5% respectively. However, 91.7% of NPV was found in the 3-month QuantiFERON CMV.
Conclusion: The 1- month QuantiFERON CMV has low performance in both sensitivity and specificity. However, the reactive QuantiFERON CMV at 3-month is useful for considering the treatment of CMV DNAemia during that period. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.1129 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
การปลูกถ่ายอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯ -- ภาวะแทรกซ้อน |
|
dc.subject |
การติดเชื้อไซโตเมกาโลไวรัส |
|
dc.subject |
Transplantation of organs, tissues, etc. -- Complications |
|
dc.subject |
Cytomegalovirus infections |
|
dc.title |
การคาดการณ์การติดเชื้อซีเอ็มวีโดยการวัดระดับควอนติเฟอร์รอนซีเอ็มวีในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะที่มีซีเอ็มวีซีโรโลยีเป็นบวก ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
|
dc.title.alternative |
The prediction of CMV reactivation by QuantiFERON CMV testin CMV-seropositive solid organ transplant recipientin King Chulalongkorn Memorial Hospital |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
อายุรศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2021.1129 |
|