DSpace Repository

ความชุกของการทดสอบการแพ้ยาโดยการให้รับประทานยาแล้วให้ผลลบในการวินิจฉัยผู้ที่มีผื่นแพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่มไม่ใช่เบต้าแลคแตมแบบไม่เฉียบพลันที่มีผลการทดสอบการแพ้ยาทางผิวหนังด้วยวิธีการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังและการตรวจไซโตไคน์อินเตอร์เฟอรอนแกมมาที่หลั่งจากเม็ดเลือดขาวที่มีความจำเพาะกับยาในเลือดโดยวิธีอิไลสปอตให้ผลลบ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภาวิณี ฤกษ์นิมิตร
dc.contributor.advisor เจตทะนง แกล้วสงคราม
dc.contributor.author นฤมล รัตนสุธีรานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-07-23T04:15:41Z
dc.date.available 2022-07-23T04:15:41Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79556
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564
dc.description.abstract ที่มา: ยาปฏิชีวนะกลุ่มไม่ใช่เบต้าแลคแตมเป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน จึงมีผู้ป่วยจำนวนมากมีประวัติแพ้ยานี้ ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีทางปฏิบัติช่วยในการวินิจฉัยที่ดีพอในการวินิจฉัยการแพ้ยากลุ่มนี้วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาค่าพยากรณ์ผลลบของการทดสอบการแพ้ยาทางผิวหนังและการทดสอบโดยวิธีอิไลสปอต ในผู้ที่แพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่มไม่ใช่เบต้าแลคแตมแบบไม่เฉียบพลันและไม่รุนแรง ได้แก่ cotrimoxazole, macrolides, quinolones, clindamycin และ metronidazole วิธีการศึกษา: ทำการทดสอบทางผิวหนังและทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยาจำนวน 26 ราย และทำการทดสอบโดยการให้รับประทานยาต่อในผู้ที่มีผลการทดสอบทางผิวหนังและทางห้องปฏิบัติการเป็นลบผลการศึกษา: พบการทดสอบด้วยวิธีอิไลสปอตให้ผลบวก 4 รายคิดเป็นร้อยละ  40 การทดสอบทางผิวหนังให้ผลบวก 1 รายคิดเป็นร้อยละ 10 และการทดสอบโดยการให้รับประทานยาให้ผลบวก 5 รายจากการทดสอบ 20 การทดสอบใน 19 ราย เกิดผื่นชนิด FDE 3 คนและผื่น MPE 2 คน ค่าพยากรณ์ผลลบของการทดสอบทางผิวหนังและทางห้องปฏิบัติเท่ากับ 75 สรุปผล: ควรทำการทดสอบโดยการให้รับประทานยาหลังจากการทดสอบทางผิวหนังและการทดสอบด้วยวิธีอิไลสปอตให้ผลลบ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยการแพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่มไม่ใช่เบต้าแลคแตมแบบไม่เฉียบพลัน
dc.description.abstractalternative Background: Non-betalactam antibiotics are increasingly prescribed nowadays resulting in increasing numbers of patients suspected of non-betalactam allergy. Currently, there is no practical method available to diagnose non-betalactam antibiotics hypersensitivity.  Objective: To evaluate the negative predictive value of intradermal test (IDT) and interferon-gamma (IFN-γ) enzyme-linked immunospot (ELISpot) assay in patients with NI and non-severe cutaneous adverse reactions to non-betalactam antibiotics: cotrimoxazole, macrolides, quinolones, clindamycin, and metronidazole. Materials and Methods: IDT and ELISpot assay were performed in 26 patients. 20 drug provocation tests were performed in 19 patients with combined negative IDT and ELISpot. Results: The study showed positive results by ELISpot in 4 patients (4/10, 40%) while one positive result to the IDT (1/10, 10%). Nineteen patients with combined negative results to both tests underwent the drug provocation test. The provocation test revealed 5 positivity; 3 with fixed drug eruption and 2 with maculopapular exanthema. The combined positive rate of IDT and ELISpot test was 50% (5/10) and negative predictive value of the tests was 75.  Conclusion: The combination of IDT, ELISpot and drug provocation test should be considered to aid in the diagnosis of NI hypersensitivity reactions to non-betalactam antibiotics.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.1143
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject ยา -- ผลข้างเคียง
dc.subject การแพ้ยา
dc.subject การแพ้ยา -- การทดสอบ
dc.subject Drugs -- Side effects
dc.subject Drug allergy
dc.subject Drug allergy -- Testing
dc.title ความชุกของการทดสอบการแพ้ยาโดยการให้รับประทานยาแล้วให้ผลลบในการวินิจฉัยผู้ที่มีผื่นแพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่มไม่ใช่เบต้าแลคแตมแบบไม่เฉียบพลันที่มีผลการทดสอบการแพ้ยาทางผิวหนังด้วยวิธีการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังและการตรวจไซโตไคน์อินเตอร์เฟอรอนแกมมาที่หลั่งจากเม็ดเลือดขาวที่มีความจำเพาะกับยาในเลือดโดยวิธีอิไลสปอตให้ผลลบ
dc.title.alternative Prevalence of negative oral provocation testfor diagnosing non-immediate and non-severe cutaneous adverse drug reactions from non-betalactam antibioticsin patients with negative combined intradermal test and ELISPOT
dc.type Thesis
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline อายุรศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2021.1143


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record