DSpace Repository

The relationships between socio-economic background and youth not in education, employment, or training in a developing country context: a case study of Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jessica Vechbanyongratana
dc.contributor.author Wei Liu
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Economics
dc.date.accessioned 2022-07-23T04:24:53Z
dc.date.available 2022-07-23T04:24:53Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79592
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2021
dc.description.abstract This paper explores the relationship between young people aged 15 to 24 who are not in education, employment, or training (NEET) and socio-economic background in Thailand. Using a linear probability model with 16,329 samples with data from 2007 Socio-Economic Survey of Thailand and 12,813 samples with data from the 2017 Socio-Economic Survey of Thailand, I find that the results are sensitive to the definition of NEET used. For NEET status that includes unpaid family workers, I find that in both 2007 and 2017 data, compared to the lowest income group, individuals from household with higher average monthly income per capita are less likely to be NEET. People with more years of education are less likely to be NEET, but this trend reverses with higher education. However, for NEET status that excludes unpaid family workers, there are no differences across income groups and gender, and people with more education are less likely to be NEET, but the opposite is true for those with a university degree. Both male and female from North and Northeast region are less likely to be NEET compared to Bangkok when unpaid family workers exclude from NEET. Many people who might be classified as NEET in other country context are actually economically active in the informal economy in the Thai context.
dc.description.abstractalternative วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาหาค่าความสัมพันธ์ของกลุ่มเยาวชนอายุ 15 ถึง 24 ปี ซึ่งไม่ได้กำลังศึกษา ทำงาน หรือฝึกอบรม (NEET) กับระดับภูมิหลังทางเศรษฐกิจสังคมในบริบทประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์ตัวแบบความน่าจะเป็นเชิงเส้นจากฐานข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2550 และ 2560 จำนวน 16,329 และ 12,813 กลุ่มตัวอย่าง ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าขอบเขตของคำจำกัดความของคำว่า NEET มีความสำคัญ กล่าวคือ ในกรณีของคำนิยามที่รวมเอาผู้ทำงานให้ครอบครัวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง (unpaid family workers) เข้าร่วมวิเคราะห์ในตัวแบบ ผลการศึกษาพบว่าเยาวชนที่อยู่ในกลุ่มรายได้ครัวเรือนยิ่งสูง จะมีความน่าจะเป็นต่ำในการเป็น NEET ในทางเดียวกัน เยาวชนที่มีระดับการศึกษายิ่งสูง จะมีความน่าจะเป็นในการเป็น NEET ต่ำ อย่างไรก็ตาม ในกรณีของคำนิยามที่ไม่รวมเอาผู้ทำงานให้ครอบครัวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง (unpaid family workers) เข้าร่วมวิเคราะห์ในตัวแบบ ผลพบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มรายได้ เพศสภาพ หากแต่มีความแตกต่างในตัวแปรของระดับการศึกษา กล่าวคือ เยาวชนที่มีระดับการศึกษายิ่งสูง จะมีความน่าจะเป็นในการเป็น NEET ต่ำ หากแต่ผลจะตรงกันข้ามในกรณีของระดับอุดมศึกษา โดยเยาวชนทั้งหญิงและชายในระดับอุดมศึกษาจากภูมิภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือจะมีแนวโน้มการเป็น NEET ที่ต่ำ ในขณะที่ เยาวชนในระดับอุดมศึกษาจากกรุงเทพฯ จะมีแนวโน้มของความเป็น NEET ที่สูงกว่า (ในกรณีของคำนิยามที่ไม่รวมเอาผู้ทำงานให้ครอบครัวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง (unpaid family workers) เข้าร่วมวิเคราะห์ในตัวแบบ) ยิ่งไปกว่านั้น คำนิยามของ NEET ในบริบทของประเทศอื่น ๆ อาจหมายถึงกลุ่มเยาวชนที่ทำงานในภาคเศรษฐกิจนอกระบบในตลาดแรงงานไทย
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.224
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Youth -- Employment -- Thailand
dc.subject เยาวชน -- การจ้างงาน -- ไทย
dc.subject.classification Social Sciences
dc.title The relationships between socio-economic background and youth not in education, employment, or training in a developing country context: a case study of Thailand
dc.title.alternative ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังทางสังคมและเศรษฐกิจ กับกลุ่มเยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา การจ้างงาน หรือการฝึกทักษะ ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา กรณีศึกษา: ประเทศไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Arts
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Labour Economics and Human Resource Management
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2021.224


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record