DSpace Repository

ความยุติธรรมกรุณา : กรณีศึกษาการช่วยเหลือผู้ประสบภัยถ้ำหลวง พ.ศ.2561 

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไชยันต์ ไชยพร
dc.contributor.author ชนุตร์ นาคทรานันท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-07-23T04:41:36Z
dc.date.available 2022-07-23T04:41:36Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79765
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาประเด็นเรื่องความยุติธรรมจากกรณีศึกษาการกู้ภัยถ้ำหลวง พ.ศ. 2561 ศึกษาผ่านกรอบแนวคิด "ความยุติธรรมกรุณา" ในการตอบวัตถุประสงค์ 3 ข้อคือ 1. เพื่อศึกษาประเด็นเรื่องความยุติธรรม/ไม่ยุติธรรมที่ปรากฎจากการกู้ภัยถ้ำหลวง 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความยุติธรรมกับความกรุณาที่ปรากฎจากการกู้ภัยถ้ำหลวง 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความยุติธรรมกับความกรุณาในเชิงทฤษฎี  ผลการศึกษาตอบวัตถุประสงค์ 3 ข้อดังนี้ 1. การกู้ภัยถ้ำหลวงก่อให้เกิดคำถามเกี่ยวกับ "ความไม่ยุติธรรมเปรียบเทียบ" 2. ผู้ประสบภัยถ้ำหลวงได้รับความช่วยเหลืออย่างมหาศาลทั้งในด้านทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรวัตถุ ซึ่งถือว่าผู้ประสบภัยได้รับ "ความกรุณา" อย่างสูงจากการกู้ภัย ส่วนผู้ประสบภัยกรณีอื่นเช่นกรณีน้ำท่วมจังหวัดอุบลราชธานีในปี พ.ศ.2562 ได้รับการช่วยเหลือตามมาตรฐานที่ถูกต้องแล้ว แต่ก็เกิดคำถามเรื่อง "ความไม่ยุติธรรมเปรียบเทียบ" ในแง่ระดับความช่วยเหลือ 3. แนวคิดเรื่อง "ความยุติธรรมกรุณา" อธิบายว่า "ความไม่ยุติธรรมเปรียบเทียบ"  เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในกรณีของการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ด้วยเงื่อนไขสำคัญคือ 1. ความจำเป็นของผู้ประสบภัยในการได้รับความช่วยเหลือ 2. การช่วยเหลือต้องสร้างผลดีต่อสังคม มากกว่าสร้างผลเสียต่อสังคม 3. ผู้ไม่ได้รับความกรุณา จำเป็นต้องได้รับความยุติธรรมในตัวเอง 
dc.description.abstractalternative This research was a qualitative research studying the issue of justice based on the case of 2018 Tham Luang rescue.  Using a theoretical concept of "merciful justice" to answer 3 objectives of the research, which were 1. to study the issue of justice/injustice emerging from Tham Luang rescue. 2. to study the relation between justice and mercy emerging from Tham Luang rescue. 3. to study the relation between justice and mercy as a theory.  The result of the research answered 3 objectives, which were, 1. Tham Luang rescue aroused a question of "comparative injustice"  2. Tham Luang's victims got a very massive support in both human resource and material resource. It could be considered that the victims got a high level of "mercy" from the rescue.  Victims of another case, such as the 2019 flood of Ubonratchathani, got support with a right standard but it still aroused the question of "comparative injustice" in term of level of support. 3. The theory of "merciful justice" explained that "comparative injustice" was acceptable if the rescue had 3 conditions, which were, 1. the need of a victim to be rescued. 2. the benefit that the society got from the rescue must be better than the harm from the rescue. 3. Victim who didn't get mercy must get "noncomparative justice".
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.810
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.title ความยุติธรรมกรุณา : กรณีศึกษาการช่วยเหลือผู้ประสบภัยถ้ำหลวง พ.ศ.2561 
dc.title.alternative Merciful justice : case study of 2018 Tham Luang rescue
dc.type Thesis
dc.degree.name รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline รัฐศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2021.810


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record