DSpace Repository

Chinese media's stance on Thailand's 2014 Coup d'état by Prayut Chan-o-Cha

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pitch Pongsawat
dc.contributor.author Han Shih
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2022-07-23T05:34:12Z
dc.date.available 2022-07-23T05:34:12Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80247
dc.description Independent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2021
dc.description.abstract Due to political unstableness, Thailand has faced coup d’état for more than 20 times since 1932 Revolution. After the political system has been changed to constitutional monarchy, Thailand’s citizens expected to live within democratic system. However, what they have experienced after 1932 is purely repetitive coups.  In the scope of the most recent coup in 2014, initiated by General Prayut Chan-o-Cha, this paper explores how Chinese state-owned/pro-state medias, including China’s Global Times, Hong Kong’s South China Morning Post, Taiwan’s Central News Agency & Singapore’s Straits Times, reported on Thailand’s 2014 coup. From the viewpoint of ownership and news reportage, this paper identifies media’s connection with its government. In particular, the paper analyses trajectory of articles produced by each state-owned/pro-state media with governments’ stances on 2014 Thailand’s coup to discover if these media agencies would possess identical stances as governments’ standpoints. By scrutinising articles placed in each section, this paper argues that Chinese state-owned/pro-state media would have different stance from government’s standpoint since it’s obvious that news trajectories created by media in this paper regarding 2014 Thailand’s coup are not constantly parallel to the diplomatic relations between Thailand and 4 governments.
dc.description.abstractalternative เนื่องด้วยปัญหาความไม่มั่นคงทางการเมือง ประเทศไทยต้องเผชิญกับการทำรัฐประหารมากกว่า 20 ครั้ง นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยภายหลังที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น ประชาชนชาวไทยคาดหวังที่จะอยู่ภายใต้ระบอบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม สิ่งที่พวกเขาต้องประสบภายหลังปี พ.ศ. 2475 คือการทำรัฐประหารที่ซ้ำซาก ในงานวิจัยฉบับนี้ จะมุ่งพิจารณาถึงกรณีการเสนอข่าวโดยสื่อเชื้อชาติจีนของรัฐและสื่อที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐในประเทศต่าง ๆ ได้แก่ China’s Global Times ของสาธารณรัฐประชาชนจีน, South China Morning Post ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน, สำนักข่าวกลางของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และ Straits Times ของสาธารณรัฐสิงคโปร์ ต่อกรณีการทำรัฐประหารครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2557 โดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ทั้งนี้ กรณีมุมมองระหว่างความเป็นเจ้าของสื่อโดยรัฐและการนำเสนอข่าวนั้น งานวิจัยฉบับนี้จะพิจารณาถึงความเชื่อมโยงระหว่างสื่อกับรัฐบาล  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิเคราะห์ถึงบทบาทในการเสนอข่าวที่ถูกเขียนขึ้นโดยสื่อของรัฐหรือสื่อที่ได้รับการสนับสนุนโดยรัฐเพื่อพิจารณาว่าสื่อเหล่านี้มีจุดยืนต่อการทำรัฐประหารครั้งดังกล่าวที่เหมือนกันกับจุดยืนของรัฐบาลหรือไม่ ทั้งนี้ ในแต่ละส่วนของงานวิจัยจะอธิบายว่าสื่อของรัฐหรือสื่อที่ได้รับการสนับสนุนโดยรัฐมีจุดยืนที่แตกต่างจากจุดยืนของรัฐบาลอย่างไร เนื่องจาก มีความชัดเจนว่าการนำเสนอข่าวโดยสื่อดังกล่าวต่อการทำรัฐประหารในปี พ.ศ. 2557 นั้น ไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายทางการทูตของทั้ง 4 ประเทศ ที่มีต่อประเทศไทย โดยเสมอไปในทุกกรณี
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.112
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Chinese media's stance on Thailand's 2014 Coup d'état by Prayut Chan-o-Cha
dc.type Independent Study
dc.degree.name Master of Arts
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Southeast Asian Studies
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2021.112


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record