dc.contributor.advisor |
นนท์ธเนศ นลินรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ภัชรพร ทรัพย์ศรี |
|
dc.contributor.author |
สิมิสัน ไชยโย |
|
dc.contributor.author |
อันนา เห็นชอบ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-15T03:25:57Z |
|
dc.date.available |
2022-08-15T03:25:57Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80402 |
|
dc.description |
โครงการปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2564 |
en_US |
dc.description.abstract |
จากการค้นพบโมเลกุลบนผิวเชลล์ที่สามารถยับยั้งการทำงานของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันในการกำจัดมะเร็ง ซึ่งได้
นำไปสู่วิทยาการรักษาแบบภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง (Cancer inmunotherapy โดยเฉพาะกลุ่มยาที่สามารถยับยั้ง
โปรตีนimmune checkpoint (Immune Checkpoint Inhibitors; ICIs) ซึ่งในปัจจุบันมียาในกลุ่มนี้หลายชนิตที่ได้รับ
การอนุมัติให้ใช้ในมนุษย์ และแนะนำให้ใช้เป็นยา first-line drug ในการรักษามะเร็งหลาย ๆ ชนิด อย่างไรก็ตาม
เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ทั้งเป็นยาชีววัตถุ การศึกษาถึงผลโตยตรงของยากลุ่ม C ต่อการเปลี่ยนแปลงการแสตงออกหรือ
การทำงานของเอนไซม์ CYPs ตังเช่นตัวยาเคมีนั้นยังมีอยู่อย่างจำกัดตังนั้นในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึง
ผลทางเภสัชพลศาสตร์ของยากลุ่ม ICIร ต่อเอนซม์ใซโตโครม พี 45 ในซลล์ตับเพาะเลี้ยงของมนุษย์ โดยศึกษาผลของ
ไซโตไคน์ที่ หลั่งออกมาจากเชลล์เม็ดเลือดขาวชนิดนิวเคลียสเดียวของมนุษย์ (human peripheral blood
mononuclear cells; PBMCs) ที่ด้รับยาแอนติบอดี Pembrolizumab ในสภาวะที่บ่มร่วมกับเซลล์ซึ่งมีการแสดงออก
ของโปรตีนชนิด PD-L1 บนผิวซลล์ และยืนยันระดับของไซโตไคน์ FNy และ IL-2 ที่หลั่งออกมาด้วยเทคนิค ELISA
หลังจากนั้นจึงนำไปบ่มกับเชลล์ดับเพาะเลี้ยงของมนุษย์ชนิต HepG2 และวัตระดับการแสดงออกของเอนไซม์ CYPs
แต่ละชนิดด้วยเทคนิค real time Polymerase chain reaction (PCR โดยเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาแอนติบอดีกับ
กลุ่มควบคุมที่เหมาะสม และเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมบวกที่ประกอบตัวย human recombinant IFNy หรือ IL-2
โดยจากผลการศึกษาพบว่าไซตไคน์ที่เป็นผลมาจากการให้ยา Pembrolizurnab จะไปมีผลลดการแสดงออกในระดับ
mRNA ของ CYP1A2 และ CYP3A4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และระดับ CYP2C8 มีแนวโน้มลดลง ขณะที่ CYP2C9
และ CYP2C19 นั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง ขี่งข้อมูลจากการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่แสดงถึงผลโดยอ้อมทาง
เภสัชพลนศาสตร์ของยากลุ่ม (Cรที่อาจส่งผลต่อการเกิดอันตรกิริยาต่อตัวยาเคมีอื่นซึ่งสามารถนำไปประยุกตีใช้เพื่อ
ศึกษาผลที่มีต่อการให้ยาร่วมกันทางคลินิก เพิ่มติม หรือติดตามผลในผู้ป่วยที่มีการใช้ยา ICIร ร่วมกับยาชนิดอื่น ๆ ได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The discovery of immune checkpoint molecules on the cell surface which can inhibit the
immune functions in eliminating the tumor cells could lead to the development on the cancer
immunotherapy approach. Immune checkpoint inhibitors (ICis) are the class of drugs that have been
approved for human use and recommended to be the first-line drugs in treating many cancer types.
However, since all of CIs are now therapeutic proteins, the effects of ICIs on hepatic enzymes are still
limited, compared the small molecule chemicals. Therefore, this study aims to examine the
pharmacodynannic effect of ICIs on cytochrome P450 in cultured human hepatic cells. Pembrolizumab,
anti-PD1 was incubated with human peripherat blood mononuclear cells (PBMCs) and further co-
cultured with PD-L1 expressing CHO cells (CHO-PDL1). Released cytokines in conditioned mediumn
were examined using ELISA assays showing that the levels of IFNY and IL-2 were increased when
compared to non-treated PBMCs. The effects of cytokines on cytochrome P450 enzyme expression
were performed by incubation of conditioned mediumn with cultured human hepatic HepG2 cells and
mRNA levels of each CYP enzyme were determined by using real time polymerase chain reaction
technic in comparison to those that receive antibody and the appropriate control group. The results
showed that conditioned medium from Pembrolizumab-treated PBMCs exhibited a statistically
significant diminishment in the mRNA expression levels of CYP1A2 and CYP3A4, as well as CYP2C8,
which has the same tendency. Meanwhile, the levels of CYP2C9 and CYP2C19 remained unchanged.
These results suggested that the drugs which are the substrates of CYP1A2, CYP3A4, and CYP2C8 might
be affected when given together. The findings of this study provide the information on possible indirect
pharmacodynarnic effects of ICs which may cause drug interaction to other chemnical drugs. Hence, it
could be applied to further study the concomitant medications in clinical uses or to follow up with
patients who use Cls with other medications. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
้เซลล์ตับ |
en_US |
dc.subject |
Liver cells |
en_US |
dc.subject |
มะเร็ง -- แง่ภูมิคุ้มกันวิทยา |
en_US |
dc.subject |
Cancer -- Immunological aspects |
en_US |
dc.title |
ผลทางเภสัชพลศาสตร์ของยากลุ่มภูมิคุ้มกันบำบัดต่อเอนไซม์ไซโตโครม พี 450 ในเซลล์ตับเพาะเลี้ยงของมนุษย์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Pharmacodynamic effects of immunotherapeutic antibodies on cytochrome P450 in human hepatoma cells |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |