dc.contributor.advisor |
Tassanee Prueksasit |
|
dc.contributor.author |
Jittanan Choowichien |
|
dc.contributor.author |
Thitirat Chuaykarn |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2022-10-07T01:55:57Z |
|
dc.date.available |
2022-10-07T01:55:57Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80607 |
|
dc.description |
In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Department of Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2020 |
en_US |
dc.description.abstract |
The aim of this study was to investigate the efficacy of biopolymers in removing PM₂.₅ via chemical agglomeration in a 6.6 m³ closed chamber system. The biopolymers used in this study are pectin, sodium alginate, and Xanthan gum. Chemical concentration and relative humidity inside the chamber were assigned to examine the effect on PM₂.₅ removal. Chemical agglomerants were prepared at two concentrations, 0.1% and 0.5% w/v for pectin and sodium alginate, and 0.05% and 0.1% w/v for Xanthan gum. The agglomeration testing was conducted under two different relative humidity conditions, i.e., 45±3% and 55±3%. An incense burning was used as a source of PM₂.₅ 10 mL of each chemical solution were applied via a hand spray. The result showed that using pectin could give the highest removal efficiency of PM₂.₅, 28.8±6.4%, which could be observed by testing at 0.5% w/v and under 45±3% RH condition. Whilst testing with sodium alginate and Xanthan gum, the highest removal efficiency of both, 22.5±3.0% and 23.1 ±2.4%, could be observed from applying 0.5% w/v under 55±3% RH and 0.05% w/v under 45±3% RH, respectively. However, there was no statistical difference in PM₂.₅ removal efficiency when compared between all testing conditions at a confidence level of 95%. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสารไบโอโพลิเมอร์ในการกำจัด PM₂.₅ ผ่านการเกาะรวมกันทางเคมีภายใต้ห้องทดสอบระบบปิดขนาด 6.6 ลูกบาศก์เมตร สารไบโอโพลิเมอร์ที่ เลือกมาทดสอบได้แก่ เพคติน โซเดียมอัลจิเนต และแซนแทนกัมทำการศึกษาผลของความเข้มข้นของ สารเคมีรวมตัวและความชื้นภายในห้องทดสอบที่มีต่อประสิทธิภาพการกำจัด PM₂.₅ ความเข้มข้นของเพคตินและโซเดียมอัลจิเนตกำหนดที่ 0.1% w/v และ 0.5% w/v และ 0.05% w/v และ 0.1% w/v สำหรับแซน แทนกัม โดยความชื้นภายในห้องทดสอบกำหนดไว้ที่ 45±3% และ 55±3% ปริมาณ PM₂.₅ ที่ ทดสอบควบคุม โดยการจุดธูป ทำการฉีดพ่นสารปริมาตร 10 มิลลิลิตรผ่านขวดสเปรย์ ผลการทดสอบพบว่า การฉีดพ่นเพคตินที่ความเข้มข้น 0.5% w/v ความชื้น 45% ให้ประสิทธิภาพการกำจัด PM₂.₅ สูงที่สุดที่ 28.8±6.4% สำหรับโซเดียมอัลจิเนตและแซนแทนกัมให้ประสิทธิภาพสูงสุด 22.5±3.0% ที่ความเข้มข้น 0.5% w/v ความชื้น 55% และ 23.1±2.4% ที่ ความเข้มข้น 0.05% w/v ความชื้น 45% ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ผลการ วิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติของประสิทธิภาพการกำจัด PM₂.₅ ระหว่างทุกปัจจัยทดสอบยังไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ ระดับความเชื่อมั่น 95% |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Biopolymers |
en_US |
dc.subject |
Dust -- Removal |
en_US |
dc.subject |
โพลิเมอร์ชีวภาพ |
en_US |
dc.subject |
ฝุ่น -- การกำจัด |
en_US |
dc.title |
The efficiency of chemical agglomeration in PM₂.₅ removal under a closed testing system |
en_US |
dc.title.alternative |
ประสิทธิภาพของการรวมตัวกันทางเคมีในการกำจัด PM₂.₅ ภายใต้ระบบการทดสอบแบบปิด |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |