dc.contributor.author |
Somying Tumwasorn |
|
dc.contributor.author |
Asada Leelahavanichkul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2022-10-10T04:16:41Z |
|
dc.date.available |
2022-10-10T04:16:41Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80626 |
|
dc.description.abstract |
Clostridium difficile is a major cause antibiotic-associated diarrhea and colitis in patients with broad-spectrum antibiotic therapy. A disruption of the gut microbiota by using antibiotics results in colonization with C. difficile and release of toxins that cause leaky gut and the production inflammatory cytokines. We identified six specific strains of Lactobacillus or Bifidobacterium are able to reduce leaky gut and inflammation caused by C. difficile in vitro. In this study, we aim to investigate the effect of these strains either alone or in combination on the inhibition of C. difficile infection in a C57BL/6 mouse model. The administration of L. rhamnosus L34 (1x10⁶ cells) for 4 days at the day of clindamycin injection to the day before sacrifice (D-1 to D2) reduced mortality, body weight change, diarrhea, gut leakage and pathology of mice and also suppressed the production of tissue and systemic inflammatory cytokines including MIP-2, KC, IL-1β and TNF-α. The administration of 1x10⁸ cells of L. casei L39, L. casei B13, L. casei B106, B. bifidum NB42 or B. pseudocatenulatum NB48 alone reduced mortality, body weight change and diarrhea in mice. L. casei L39, L. casei B13 and L. casei 106 administration also reduced the production of some tissue and systemic inflammatory cytokines. The effect of Bifidobacterium spp. on cytokine production was not determined yet. Only Lacto cocktail (L. rhamnosus L34 and L. casei L39) attenuated the disease severity whereas Bifido cocktail (B. bifidum NB42 or B. pseudocatenulatum NB48) or Lacto-Bifido cocktail (L. rhamnosus L34, L. casei L39, B. bifidum NB42, B. pseudocatenulatum NB48) did not. These strains are promising probiotics for C. difficile infection. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
คลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการท้องเสียและลำไส้อักเสบที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยที่ได้รับยาแบบออกฤทธิ์กว้าง การทำลายจุลินทรีย์ประจำถิ่นโดยยาปฏิชีวนะมีผลให้คลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล สามารถตั้งถิ่นฐานและหลั่งสารพิษที่มีผลให้เกิดไส้รั่วและการสร้างไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ คณะผู้วิจัยได้ตรวจพิสูจน์แล็คโตบาซิลลัสและบิฟิโดแบคทีเรียมจำนวน 6 สายพันธุ์ที่สามารถลดการเกิดไส้รั่วและการอักเสบที่เกิดจากคลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล ในหลอดทดลอง ในการศึกษานี้คณะผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาผลของการใช้เชื้อสายพันธุ์เหล่านี้ทั้งแบบเดี่ยวหรือใช้ร่วมกัน ต่อการยับยั้งการติดเชื้อคลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล ในหนูทดลอง C57BL/6 การให้เชื้อแล็คโตบาซิลลัส แรมโนซัส L34 (1x10⁶ เซลล์) เป็นเวลาวัน จากวันที่ให้ยาคลินดามัยซินจนถึงวันก่อนฆ่าหนู มีผลให้ลดการตาย การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัว การท้องเสีย ไส้รั่ว และพยาธิสภาพของหนู และยับยั้งการสร้างไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบได้แก่ MIP-2, KC, IL-1β และ TNF-α ทั้งในเนื้อเยื่อลำไส้และซีรั่ม การให้เชื้อแล็คโตบาซิลลัส เคซิไอ L39, B13,B106 บิฟิโดแบคทีเรียม บิฟิดุม NB42 หรือ บิฟิโดแบคทีเรียม ซูโดแคเทนูลาตัม NB48 แบบเดี่ยว สามารถลดการตาย การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัว และการท้องเสียในหนูทดลอง การให้เชื้อแล็คโตบาซิลลัส เคซิไอ L39, B13 และ B106 สามารถยับยั้งการสร้างไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบบางชนิดในเนื้อเยื่อลำไส้และซีรั่ม ยังไม่ได้ทดสอบผลของการให้บิฟิโดแบคทีเรียมต่อการยับยั้งการสร้างไซโตไคน์ เฉพาะแล็คโตค็อกเทล (แล็คโตบาซิลลัส แรมโนซัส L34 และ แล็คโตบาซิลลัส เคซิไอ L39) สามารถลดความรุนแรงของโรค ส่วนบิฟิโดค็อกเทล (บิฟิโดแบคทีเรียม บิฟิดุม NB42 และ บิฟิโดแบคทีเรียม ซุโดแคเทนูลาตัม NB48) หรือ แล็คโต-บิฟิโดค็อกเทล (แล็คโตบาซิลลัส แรมโนซัส L34, แล็คโตบาซิลลัส เคซิไอ L39, บิฟิโดแบคทีเรียม บิฟิดุม NB42 และ บิฟิโดแบคทีเรียม ซุโดแคเทนูลาตัม NB48) ไม่ลดความรุนแรงของโรค เชื้อสายพันธุ์เหล่านี้เป็นโพรไบโอติกส์ที่น่าจะใช้ได้ผลกับการติดเชื้อคลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล |
en_US |
dc.description.sponsorship |
Supported by the Government Research Budget, Fiscal year 2017 |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Lactobacillus |
en_US |
dc.subject |
Bifidobacterium |
en_US |
dc.subject |
Clostridium |
en_US |
dc.title |
Effect of Lactobacillus and Bifidobacterium on the inhibition of Clostridium difficile in mouse infection model |
en_US |
dc.title.alternative |
ผลของแลคโตบาซิลลัสและบิฟิโดแบคทีเรียม ต่อการยับยั้งคลอสตริเดียม ดิฟฟิซิล ในโมเดลการติดเชื้อของหนูทดลอง: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |