DSpace Repository

Plasma-induced poly(acrylic acid)- TiO₂/ZnO nanoparticles coated polyvinylidene fluoride membrane to enhance hydrophilicity

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sermpong Sairiam
dc.contributor.author Kankanok Saithai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned 2022-10-10T09:46:07Z
dc.date.available 2022-10-10T09:46:07Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80637
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract Hydrophilic of polyvinylidene fluoride (PVDF) hollow fiber membrane was enhanced through pulse inductively couple plasma (PICP) induced poly(acrylic acid) (PAA) polymerization followed by titanium dioxide nanoparticles (TiO₂ NPs) and zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) coated. The morphology, chemical composition and hydrophilicity of modified membranes were characterized by SEM, EDX and water contact angle. The result of SEM and EDX analyses found that TiO₂ NPs and ZnO NPs were successfully coated on membrane surface and increased belong to immersion time. In addition, the water contact angle was declined when membrane was modified via PICP induced PAA- 10 ppm TiO₂/ZnO NPs coated at 24 hr from original 73.5° to 51.5°, indicating the modified membrane was enhanced hydrophilicity. Nonetheless, 10 ppm TiO₂ NPs of 24 hr coating time gave the highest hydrophilicity in term of contact angle (34.9°) because of the mixing solution between TiO₂ NPs and ZnO NPs cause agglomeration on membrane surface. However, the modified membrane by PICP induced PAA-TiO₂/ZnO NPS coated has potential in the application for wastewater treatment. en_US
dc.description.abstractalternative ความชอบน้ำของโพลีไวนิลลิดีนฟลูออไรด์เมมเบรนแบบเส้นใยกลวงถูกพัฒนาขึ้นโดยการกระตุ้นด้วยพลาสม่าและกรดอะคริลิก ตามด้วยการเคลือบอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ ส่งผลให้ลักษณะสัณฐานวิทยา องค์ประกอบทางเคมี และความชอบน้ำเปลี่ยนไป โดยสามารถวิเคราะห์ได้จากผลของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยธาตุและค่ามุมสัมผัสน้ำของเมมเบรนพบว่า อนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ถูกเคลือบบนผิวเมมเบรนได้สำเร็จและเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ใช้ในการเคลือบ นอกจากนี้ค่ามุมสัมผัสน้ำลดลงเมือเมมเบรนถูกกระตุ้นด้วยพลาสม่า กรดอะคริลิกและการเคลือบด้วยสารละลายผสมของอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์ที่มีความเข้มข้น 10 มิลลิกรัมต่อลิตรและอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ที่มีความเข้มข้น 10 มิลลิกรัมต่อลิตร เวลาเคลือบ 24 ชั่วโมง จากเมมเบรนดั้งเดิม 73.5° ถึง 51.5° แสดงให้เห็นว่าเมมเบรนนั้นมีความชอบน้ำมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม การเคลือบเมมเบรนด้วยอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์ที่มีความเข้มข้น 10 มิลลิกรัมต่อลิตร เวลาการเคลือบ 24 ชั่วโมง ทำให้เมมเบรนมีความชอบน้ำมากที่สุด โดยมีค่ามุมสัมผัสน้ำลดลง 34.9° เกิดจากการรวมตัวกันของอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์บนผิวเมมเบรน อย่างไรก็ตาม เมมเบรนที่ถูกกระตุ้นด้วยพลาสม่ากรดอะคริลิกและเคลือบด้วยอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Membranes (Technology) en_US
dc.subject Nanotechnology en_US
dc.subject Titanium dioxide en_US
dc.subject เมมเบรน (เทคโนโลยี) en_US
dc.subject นาโนเทคโนโลยี en_US
dc.subject ไทเทเนียมไดออกไซด์ en_US
dc.title Plasma-induced poly(acrylic acid)- TiO₂/ZnO nanoparticles coated polyvinylidene fluoride membrane to enhance hydrophilicity en_US
dc.title.alternative การเคลือบไททาเนียมออกไซด์/ซิงค์ออกไซด์บนโพลีไวนิลลิดีนฟลูออไรด์เมมเบรนโดยการกระตุ้นด้วยพลาสมาและกรดโพลีอะคริลิกเพื่อเพิ่มคุณสมบัติความชอบน้ำ en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record